โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางมีเน๊าะ ยาโงะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก
ธันวาคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ที่อยู่ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2512-2-05 เลขที่ข้อตกลง 005
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2512-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มีนาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 190,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 5 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขของไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคระบาดที่สร้างความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมกราคม-กันยายนของทุกปี ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีอย่างต่อเนื่อง ทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้นจึงควรมีการดำเนินการป้องกันและควบคุม ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำประชาชน องค์กร ชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลรือเสาะออก จึงได้จัดทำโครงการอบรมและรณรงค์ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนร่วมมือกันกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งเป็นการลดจำนวนยุงที่ติดเชื้อและลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนและตัดวงจรของยุง
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่
- เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- เพื่อให้ชุมชนร่วมมือกันป้องกันและกำจัดแหล่งกำเนิดยุงลายอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ลงพื้นที่รณรงค์ไข้เลือดออกตามหมู่บ้าน
- ฉีดพ่นหมอกควันป้องกันยุง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก
2.ประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนมีความร่วมมือร่วมใจในการรณรงค์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยและสถานที่ทำงานให้ปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอ
3.ลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
4.ลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่และลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ลงพื้นที่รณรงค์ไข้เลือดออกตามหมู่บ้าน
วันที่ 26 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รงค์ให้ประชาชนทำกิจกรรม 5 ป. คือ ปิด ภาชนะเก็บกักน้ำให้มิดชิด, เปลี่ยน น้ำในภาชนะทุก 7 วัน, ปล่อย ปลาหางนกยูงในภาชนะใส่น้ำถาวร, ปรับปรุง สภาพแวดล้อมให้สะอาด, และปฏิบัติ 4 ป. เป็นประจำ ประชาชนร่วมกันทำความสะอาดแหล่งน้ำขัง, กำจัดขยะ, และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ประชาชนให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง
250
0
2. ฉีดพ่นหมอกควันป้องกันยุง
วันที่ 26 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ลงไปฉีดพ่นหมอกควันในพื้นที่ หมู่บ้าน 5 หมู่บ้าน ในตำบลรือเสาะออก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดพ่นหมอกควันจะช่วยกำจัดยุงลายที่บินอยู่ในบริเวณที่ทำการฉีดพ่นได้ ฉีดพ่นควรทำอย่างถูกวิธีและปลอดภัย เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีและลดความเสี่ยง ฉีดพ่นหมอกควันเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการควบคุมยุงลาย ควรทำควบคู่ไปกับการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และการป้องกันตนเอง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะ
5,704
0
3. อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก
วันที่ 21 พฤษภาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้เรื่องป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่ประชาชนในพื้นที่แต่ละหมู่บ้าน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การมีส่วนร่วมของประชาชนทุกคนในชุมชน จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรค และสร้างชุมชนให้มีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน
250
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดจำนวนและตัดวงจรของยุง
ตัวชี้วัด : ปริมาณยุงลดน้อยลง
0.00
2
เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ปริมาณคนไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง
0.00
3
เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจวิธีการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างกว้างขวาง
0.00
4
เพื่อให้ชุมชนร่วมมือกันป้องกันและกำจัดแหล่งกำเนิดยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ชุมชนร่วมมือดำเนินการกำจัดยุงลายอย่างต่อเนื่อง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
250
250
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
250
250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนและตัดวงจรของยุง (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ (3) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อให้ชุมชนร่วมมือกันป้องกันและกำจัดแหล่งกำเนิดยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) ลงพื้นที่รณรงค์ไข้เลือดออกตามหมู่บ้าน (3) ฉีดพ่นหมอกควันป้องกันยุง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2512-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมีเน๊าะ ยาโงะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางมีเน๊าะ ยาโงะ
ธันวาคม 2562
ที่อยู่ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2512-2-05 เลขที่ข้อตกลง 005
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2512-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มีนาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 190,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.รือเสาะออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 5 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขของไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคระบาดที่สร้างความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ พบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมกราคม-กันยายนของทุกปี ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีอย่างต่อเนื่อง ทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้นจึงควรมีการดำเนินการป้องกันและควบคุม ปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำประชาชน องค์กร ชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลรือเสาะออก จึงได้จัดทำโครงการอบรมและรณรงค์ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนร่วมมือกันกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ซึ่งเป็นการลดจำนวนยุงที่ติดเชื้อและลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนและตัดวงจรของยุง
- เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่
- เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- เพื่อให้ชุมชนร่วมมือกันป้องกันและกำจัดแหล่งกำเนิดยุงลายอย่างต่อเนื่อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก
- ลงพื้นที่รณรงค์ไข้เลือดออกตามหมู่บ้าน
- ฉีดพ่นหมอกควันป้องกันยุง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 250 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก 2.ประชาชนและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนมีความร่วมมือร่วมใจในการรณรงค์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยและสถานที่ทำงานให้ปลอดลูกน้ำยุงลายอย่างสม่ำเสมอ 3.ลดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 4.ลดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่และลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ลงพื้นที่รณรงค์ไข้เลือดออกตามหมู่บ้าน |
||
วันที่ 26 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรงค์ให้ประชาชนทำกิจกรรม 5 ป. คือ ปิด ภาชนะเก็บกักน้ำให้มิดชิด, เปลี่ยน น้ำในภาชนะทุก 7 วัน, ปล่อย ปลาหางนกยูงในภาชนะใส่น้ำถาวร, ปรับปรุง สภาพแวดล้อมให้สะอาด, และปฏิบัติ 4 ป. เป็นประจำ ประชาชนร่วมกันทำความสะอาดแหล่งน้ำขัง, กำจัดขยะ, และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ประชาชนให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง
|
250 | 0 |
2. ฉีดพ่นหมอกควันป้องกันยุง |
||
วันที่ 26 มีนาคม 2562 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำลงไปฉีดพ่นหมอกควันในพื้นที่ หมู่บ้าน 5 หมู่บ้าน ในตำบลรือเสาะออก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดพ่นหมอกควันจะช่วยกำจัดยุงลายที่บินอยู่ในบริเวณที่ทำการฉีดพ่นได้ ฉีดพ่นควรทำอย่างถูกวิธีและปลอดภัย เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีและลดความเสี่ยง ฉีดพ่นหมอกควันเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการควบคุมยุงลาย ควรทำควบคู่ไปกับการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และการป้องกันตนเอง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการควบคุมโรคที่มียุงเป็นพาหะ
|
5,704 | 0 |
3. อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 21 พฤษภาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้เรื่องป้องกันโรคไข้เลือดออกแก่ประชาชนในพื้นที่แต่ละหมู่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกคนในชุมชน จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรค และสร้างชุมชนให้มีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน
|
250 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนและตัดวงจรของยุง ตัวชี้วัด : ปริมาณยุงลดน้อยลง |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ ตัวชี้วัด : ปริมาณคนไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจวิธีการป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างกว้างขวาง |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้ชุมชนร่วมมือกันป้องกันและกำจัดแหล่งกำเนิดยุงลายอย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ชุมชนร่วมมือดำเนินการกำจัดยุงลายอย่างต่อเนื่อง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 250 | 250 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 250 | 250 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนและตัดวงจรของยุง (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่ (3) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อให้ชุมชนร่วมมือกันป้องกันและกำจัดแหล่งกำเนิดยุงลายอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) ลงพื้นที่รณรงค์ไข้เลือดออกตามหมู่บ้าน (3) ฉีดพ่นหมอกควันป้องกันยุง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 62-L2512-2-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมีเน๊าะ ยาโงะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......