directions_run
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ |
รหัสโครงการ | 62-L7255-05-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม |
วันที่อนุมัติ | 19 กันยายน 2561 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2562 |
งบประมาณ | 200,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.055,100.48place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ต.ค. 2561 | 30 ก.ย. 2562 | 200,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 200,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 38430 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : ระบุ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน) | 20,000.00 | ||
2 | จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน) | 2,000.00 | ||
3 | จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน) | 5,000.00 | ||
4 | จำนวนเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน) | 500.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน) ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน) |
20000.00 | 20000.00 |
2 | เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน) ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน) |
2000.00 | 2000.00 |
3 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน) |
5000.00 | 5000.00 |
4 | เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน) ร้อยละของการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน) |
500.00 | 500.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 200,000.00 | 0 | 0.00 | |
1 ต.ค. 61 - 30 ก.ย. 62 | ในการดำเนินกิจกรรม การแก้ไขปํญหาอุทกภัย การเกิดปัญหาหมอกควันจากประเทศอินโดนิเซีย การ แก้ไขปัญหาโรคที่ควร เฝ้าระวังเป็นพิเศษจำนวน 7 โรค ได้แก่ ตาแดง ฉี่หนู ไข้เลือดออก อุจจาระร่วง มือ เท้า ปาก เป็นต้น | 0 | 200,000.00 | - |
- ดำเนินการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
2. ติดตามสถานการณ์และรวบรวมข้อมูล
๓. ติดต่อประสานงานกับเจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4. ประชุมเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง/ อสม. เพื่อวางแผนการป้องกันและควบคุมสถานการณ์ การเกิดภาวะ ฉุกเฉินทางสุขภาพ
๕. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และเวชภัณฑ์ให้เพียงพอในการป้องกันและควบคุมโรค
6. ติดตามเยี่ยมและประเมินสุขภาพของประชาชนภายในเขตเทศบาล
7. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรคและผลกระทบจากภัยสุขภาพ
8. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดความสำเร็จ
9. สรุปปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข
- ประชาชนในเขตเทศบาลมีความรู้เกี่ยวกับโรคและสามารถปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคและภัยทางสุขภาพ ได้ อย่างถูกต้อง
- ประชาชนภายในเขตเทศบาลสามารถเตรียมตัวป้องกันภาวะฉุกเฉินทางสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
- ประชาชนในเขตเทศบาลได้รับการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.ย. 2562 20:18 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ