โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562 ”
ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางเยี่ยม คงแก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ
กันยายน 2562
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562
ที่อยู่ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-LNK-2-16 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-LNK-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยมีรายงานการระบาดของโรคไข้เลือดออกมานานมากกว่า 50 ปีและเริ่มมีการระบาดของไข้เลือดออกอย่างชัดเจน ในปี พ.ศ.2501 โดยเฉพาะผู้ป่วยผู้ป่วยที่ตรวจพบในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่นั้นมาก็มีรายงานการระบาดกระจายออกไปทุกภูมิภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะในปี พ.ศ.2530 มีรายงานผู้ป่วยสูงสุดในประเทศไทยเท่าที่มีรายงานมา พบผู้ป่วยมีจำนวน 174,285 ราย เสียชีวิต 1,007 ราย ในปี พ.ศ.2562 นี้ พบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 24,630 คน เสียชีวิต จำนวน 41 ราย อัตราป่วยคิดเป็น16,000 ต่อแสนประชากร ซึงพบว่าเกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ การกระจายของโรคไข้เลือดออกพบว่าภาคใต้มีอัตราป่วยมากที่สุด ในจังหวัดปัตตานีพบผู้ป่วยจำนวน 352 คน คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร 49.90 ซึ่งให้เคียงกับเกณฑ์มาตรฐานที่ไว้ อัตราป่วยต่อแสนประชากรไม่ควรเกิน 50
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค เป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศในเขตร้อนชื้นอย่างประเทศไทย ที่มีฝนตกตลอดทั้งปีทำให้มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตของยุงลาย ผู้ป่วยไข้เลือดออจะติดโรคโดยการถูกยุงลายที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่กัดในเวลากลางวันเป็นส่วนใหญ่เนื่องจากธรรมชาติของยุงลายจะหากินเวลากลางวัน โดยจะเริ่มจากอาการไข้ ตัวร้อน ในผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจจะทำให้ช๊อกและเสียชีวิตได้ในที่สุด
ปัจจัยที่ความสำคัญต่อการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกมีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละพื้นที่ เช่นภูมิต้านทานของประชาชน ความหนาแน่นของประชากร ชนิดของไวรัส สภาพภูมิอากาศ แต่ที่มีลักษณะเหมือนกันที่ก่อให้เกิดการะบาดของไข้เลือดออกได้มากที่สุด การขาดความรู้ความเข้าใจและความตระหนักของประชาชนในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง รวมไปถึงการดำเนินงานควบคุมโรคอย่างจริงจังของเจ้าหน้าที่
ตำบลนาเกตุ พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปี 2562 จำนวน 19 คน คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร 237 ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้คือ 50 ต่อแสนประชากร จำนวนผู้ป่วยที่มากทำให้ยากต่อการควบคุมและส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเป็นวงกว้าง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเกตุเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อการดำเนินงานควบคุมป้องกันอย่างจริงจังและต่อเนื่อง อันจะส่งผลให้สามารถควบคุมป้องกันไข้เลือดออกได้อย่างทันท่วงที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือกออกในพื้นที่
- เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนักและร่วมกันควบคุมป้องกันไข้เลือดออกให้เกิดความยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเฝ้าระวังและควบคุมไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
2.ชุมชนมีส่วนร่วมกันแก้ปัญหาเพื่อควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมเฝ้าระวังและควบคุมไข้เลือดออก
วันที่ 1 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.จัดทำโครงการพร้อมอนุมัติงบประมาณจากกองทุน
2.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ อสม ผู้นำชุมชน
3.ดำเนินงานตามแผนกิจกรรมที่วางไว้
3.1 กิจกรรมกำจักยุงลายตัวแก่ พ่นหมอกควันครอบคลุมพื้นที่จำนวน 7 หมู่บ้าน
3.2 กิจกรรมควบคุมลูกน้ำยุงลาย อสม.ร่วมกับประชาชนในพื้นที่ร่วมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกวันศุกร์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง จำนวน 8 ครั้ง
3.3 กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้เรื่องการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย ผ่านเสียงตามสายหรือรถกู้ชีพของ อบต.นาเกตุ จำนวน 1 ครั้ง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ชุมชนมีส่วนร่วมกันแก้ปัญหาเพื่อควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
337
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือกออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนักและร่วมกันควบคุมป้องกันไข้เลือดออกให้เกิดความยั่งยืน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือกออกในพื้นที่ (3) เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนักและร่วมกันควบคุมป้องกันไข้เลือดออกให้เกิดความยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเฝ้าระวังและควบคุมไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-LNK-2-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเยี่ยม คงแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562 ”
ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางเยี่ยม คงแก้ว
กันยายน 2562
ที่อยู่ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-LNK-2-16 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-LNK-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,710.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกตุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยมีรายงานการระบาดของโรคไข้เลือดออกมานานมากกว่า 50 ปีและเริ่มมีการระบาดของไข้เลือดออกอย่างชัดเจน ในปี พ.ศ.2501 โดยเฉพาะผู้ป่วยผู้ป่วยที่ตรวจพบในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่นั้นมาก็มีรายงานการระบาดกระจายออกไปทุกภูมิภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะในปี พ.ศ.2530 มีรายงานผู้ป่วยสูงสุดในประเทศไทยเท่าที่มีรายงานมา พบผู้ป่วยมีจำนวน 174,285 ราย เสียชีวิต 1,007 ราย ในปี พ.ศ.2562 นี้ พบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 24,630 คน เสียชีวิต จำนวน 41 ราย อัตราป่วยคิดเป็น16,000 ต่อแสนประชากร ซึงพบว่าเกินเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไว้ การกระจายของโรคไข้เลือดออกพบว่าภาคใต้มีอัตราป่วยมากที่สุด ในจังหวัดปัตตานีพบผู้ป่วยจำนวน 352 คน คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร 49.90 ซึ่งให้เคียงกับเกณฑ์มาตรฐานที่ไว้ อัตราป่วยต่อแสนประชากรไม่ควรเกิน 50
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค เป็นปัญหาสาธารณสุขทั่วโลกโดยเฉพาะประเทศในเขตร้อนชื้นอย่างประเทศไทย ที่มีฝนตกตลอดทั้งปีทำให้มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตของยุงลาย ผู้ป่วยไข้เลือดออจะติดโรคโดยการถูกยุงลายที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่กัดในเวลากลางวันเป็นส่วนใหญ่เนื่องจากธรรมชาติของยุงลายจะหากินเวลากลางวัน โดยจะเริ่มจากอาการไข้ ตัวร้อน ในผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจจะทำให้ช๊อกและเสียชีวิตได้ในที่สุด
ปัจจัยที่ความสำคัญต่อการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกมีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละพื้นที่ เช่นภูมิต้านทานของประชาชน ความหนาแน่นของประชากร ชนิดของไวรัส สภาพภูมิอากาศ แต่ที่มีลักษณะเหมือนกันที่ก่อให้เกิดการะบาดของไข้เลือดออกได้มากที่สุด การขาดความรู้ความเข้าใจและความตระหนักของประชาชนในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง รวมไปถึงการดำเนินงานควบคุมโรคอย่างจริงจังของเจ้าหน้าที่
ตำบลนาเกตุ พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในปี 2562 จำนวน 19 คน คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร 237 ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้คือ 50 ต่อแสนประชากร จำนวนผู้ป่วยที่มากทำให้ยากต่อการควบคุมและส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนเป็นวงกว้าง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเกตุเล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกขึ้น เพื่อการดำเนินงานควบคุมป้องกันอย่างจริงจังและต่อเนื่อง อันจะส่งผลให้สามารถควบคุมป้องกันไข้เลือดออกได้อย่างทันท่วงที
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก
- เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือกออกในพื้นที่
- เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนักและร่วมกันควบคุมป้องกันไข้เลือดออกให้เกิดความยั่งยืน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเฝ้าระวังและควบคุมไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ไม่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 2.ชุมชนมีส่วนร่วมกันแก้ปัญหาเพื่อควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมเฝ้าระวังและควบคุมไข้เลือดออก |
||
วันที่ 1 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.จัดทำโครงการพร้อมอนุมัติงบประมาณจากกองทุน 2.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ อสม ผู้นำชุมชน 3.ดำเนินงานตามแผนกิจกรรมที่วางไว้ 3.1 กิจกรรมกำจักยุงลายตัวแก่ พ่นหมอกควันครอบคลุมพื้นที่จำนวน 7 หมู่บ้าน 3.2 กิจกรรมควบคุมลูกน้ำยุงลาย อสม.ร่วมกับประชาชนในพื้นที่ร่วมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกวันศุกร์ สัปดาห์ละ 2 ครั้ง จำนวน 8 ครั้ง 3.3 กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์/ให้ความรู้เรื่องการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย ผ่านเสียงตามสายหรือรถกู้ชีพของ อบต.นาเกตุ จำนวน 1 ครั้ง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ชุมชนมีส่วนร่วมกันแก้ปัญหาเพื่อควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก
|
337 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือกออกในพื้นที่ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนักและร่วมกันควบคุมป้องกันไข้เลือดออกให้เกิดความยั่งยืน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก (2) เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือกออกในพื้นที่ (3) เพื่อให้คนในชุมชนมีความตระหนักและร่วมกันควบคุมป้องกันไข้เลือดออกให้เกิดความยั่งยืน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเฝ้าระวังและควบคุมไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ต.นาเกตุ อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ปี พ.ศ 2562 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 62-LNK-2-16
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเยี่ยม คงแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......