กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหอยโข่ง


“ โครงการเปิดห้องเรียนพ่อแม่ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว ”

ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลคลองหอยโข่ง

ชื่อโครงการ โครงการเปิดห้องเรียนพ่อแม่ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว

ที่อยู่ ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเปิดห้องเรียนพ่อแม่ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหอยโข่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเปิดห้องเรียนพ่อแม่ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเปิดห้องเรียนพ่อแม่ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหอยโข่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบัน ปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันสมควรของวัยรุ่น นับวันยิ่งทวีความรุนแรงและเพิ่มมากขึ้น จากร้อยละ 10 ในปี พ.ศ. 2544 เป็นร้อยละ 40ในปี พ.ศ.2552 และเริ่มมีเพศสัมพันธ์อายุน้อยลงเรื่อยๆ ดังจะเห็นได้จากอายุเฉลี่ยของการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกของวัยรุ่นจาก 18-19 ปีเป็นประมาณ 15-16 ปี และในขณะนี้พบตั้งแต่อายุ 11 ปี(สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข,2553)และจากข้อมูลการใช้ถุงยางอนามัยพบว่า วัยรุ่นมีการใช้ถุงยางอนามัยเพื่อการมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกในระดับต่ำ พฤติกรรมเสี่ยงเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พร้อม การป่วยด้วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นและเยาวชน รวมทั้งการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย สาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัญหาภายในครอบครัวและปัญหาขาดความรู้ในเรื่องเพศศึกษา ปัญหาสื่อที่ยั่วยุต่อการมีเพศสัมพันธ์ ตลอดจนค่านิยมและวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชนได้ดำเนินงานเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงมีโครงการต่างๆ เช่น การจัดตั้งสถานบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น (Youth Hriendly Heavice) ความพยายามจัดการเรียนการสอนเพศศึกษาในโรงเรียนและอื่นๆอีกมากมาย แต่จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมา มีกลุ่มนักเรียนและกลุ่มวัยรุ่นบางกลุ่มเท่านั้นที่เข้าถึง ยังมีนักเรียนและกลุ่มวัยรุ่นอีกเป็นจำนวนมากที่ยังเข้าไม่ถึง ซึ่งอาจเนื่องมาจากฐานความคิดของคนในสังคมไทย ยังมองเรื่องเพศเป็นเรื่องต้องห้าม ประกอบกับครอบครัวขาดการสื่อสารเรื่องเพศ ไม่มีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศ หรือความใกล้ชิดระหว่างคนในครอบครัวมีไม่มากพอที่จะพูดคุยกันในเรื่องนี้ ทำให้วัยรุ่นซึ่งเป็นวัยที่อยากรู้อยากเห็นขาดโอกาสในการเรียนรู้เรื่องเพศที่เหมาะสม ส่วนใหญ่เรียนรู้เรื่องเพศจากสื่อสังคมออนไลน์ (Sosial Media) ซึ่งมักจะเป็นสื่อลามกอนาจารทางเพศ บางครั้งอาจจะได้รับข้อมูลที่ไม่ถูกต้องและนำไปสู่การแก้ปัญหาที่ไม่ใช่แนวทางที่ถูกต้อง จากการวิจัยที่ผ่านมา ครอบครัวมีความสำคัญต่อวัยรุ่น เนื่องจากครอบครัวเป็นสถาบันหลักทางสังคมที่เล็กที่สุดเป็นบริบทรากฐานของการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ เป็นแหล่งกำเนิดหล่อหลอมปลูกฝังสิ่งที่ดีและขัดเกลาทางสังคมให้สมาชิกเป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์และเป็นที่ยอมรับว่าครอบครัวมีความสำคัญที่สุดในการหล่อหลอมความเป็นมนุษย์ของบุคคลตั้งแต่เกิด วิธีชีวิตของบุคคล ค่านิยม เจตคติ จริยธรรม ความสามารถ การริเริ่มสร้างสรรค์ และวิธีการแก้ปัญหาล้วนมีอิทธิพลมาจากพื้นฐานครอบครัวของบุคคลนั้นทั้งสิ้น จากข้อมูลของต้นจึงแสดงให้เห็นว่าความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศและการรู้จักธรรมชาติของชายหญิงเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำความเข้าใจ การสอนเพศศึกษาในสังคมไทยต้องเปลี่ยนแนวคิดใหม่ โดยที่บิดามารดาผู้ปกครองต้องกล้าที่จะพูดเรื่องเพศกับเด็ก ดังนั้นทางศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลคลองหอยโข่ง อำเภอคลองหอยโข่ง ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. พ่อแม่/ผู้ปกครองที่มีลูกหลานเป็นเด็กหรือวัยรุ่นและ ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา ที่มีหลานในการดูแล ในพื้นที่ ร่วมกันทำสังคมให้น่าอยู่
    2. ครอบครัว/ชุมชนเกิดความเข็มแข็ง ครอบครัวอบอุ่น
    3. เจ้าหน้าที่ แกนนำครอบครัวในชุมชน มีความรู้มีทักษะในการพูดคุยให้คำปรึกษา ร่วมแก้ปัญหา
    4. วัยรุ่นในชุมชนมีทักษะชีวิต สามารถจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้
    5. ลดปัญหาการมีเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเปิดห้องเรียนพ่อแม่ เรื่องเพศคุยได้ในครอบครัว จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลคลองหอยโข่ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด