กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซีย ”
อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง




ชื่อโครงการ โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซีย

ที่อยู่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4115-05-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กันยายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซีย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซีย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซีย " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L4115-05-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กันยายน 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ห้วยกระทิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์หมอกควันจากไฟไหม้ป่าบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียส่งผลให้ลมตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงใต้ บางส่วนบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย พัดเข้าสู่พื้นที่ภาคใต้ตอนล่างของไทย เป็นผลให้เกิดหมอกควันข้ามแดน ปกคลุมพื้นที่ภาคใต้ในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะ 4 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดสงขลา ปัตตานี ยะลา และสตูล ซึ่งเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2562 เวลา 06.00 น. ค่า PM2.5 ในเขตเทศบาลนครยะลา วัดได้เท่ากับ 56 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (สูงกว่า 50 ขึ้นไป) ซึ่งอาจเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ โดยนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดยะลา กล่าวให้ประชาชนในพื้นที่ติดตามรับฟังข่าวสาร และข้อมูลจากทางราชการอย่างใกล้ชิด เพื่อให้เกิดความเข้าใจและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง รวมถึงมีการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะประชาชนกลุ่มเสี่ยง ต้องดูแลตนเองเป็นพิเศษ ได้แก่ ผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ หอบหืด ภูมิแพ้ ถุงลมโป่งพอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีโรคประจำตัว เพราะประชาชนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มเสี่ยงที่อาจเกิดอาการกำเริบได้ง่ายจากการสูดดมฝุ่นละอองขนาดเล็ก จึงควรหลีกเลี่ยงการเข้าไปอยู่ในพื้นที่ที่มีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กในปริมาณที่สูงเกินค่ามาตรฐาน หรือเข้าไปทำกิจกรรมที่ต้องใช้แรงกายมากเป็นระยะเวลานาน แต่หากจำเป็นต้องเข้าไปในพื้นที่ที่มีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กในปริมาณที่สูง ควรป้องกันการสัมผัสฝุ่นให้น้อยที่สุด โดยการสวมหน้ากากป้องกันฝุ่นละอองขนาดเล็ก โดยเฉพาะประชาชนกลุ่มเสี่ยง ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์เป็นเวลานาน และตำรวจจราจรที่ทำงานกลางแจ้ง ควรสวมหน้ากาก สวม แว่นตา เสื้อแขนยาว เพื่อป้องกันฝุ่นด้วย นอกจากนี้ หากประชาชนมีอาการผิดปกติ เช่น หายใจติดขัด แน่นหน้าอก วิงเวียนศีรษะ หรือหมดสติ ให้รีบไปรับการตรวจรักษาที่สถานพยาบาลโดยเร็ว องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง ร่วมกับ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลห้วยกระทิง ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาที่ผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนในพื้นที่ตำบลห้วยกระทิงจึงได้เนินโครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซีย เพื่อป้องกันอันตรายจากหมอกควันที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรับรู้สถานการณ์เกิดความเข้าใจและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
  2. . เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ จากการที่มีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กในปริมาณที่สูงเกินค่ามาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซีย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายรับรู้ และเข้าใจสถานการณ์และเข้าใจและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง     2. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจลดน้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซีย

วันที่ 23 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. เสนอโครงการเพื่อขอรับการอนุมัติ
  2. แต่งตั้งคณะทำงาน
  3. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน หน่วยงานเพื่อมอบหมายงานที่รับผิดชอบ
  4. ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้าหมาย
  5. ดำเนินการจัดโครงการ 5.1 สนับสนุนหน้ากากอนามัยให้กับกลุ่มเสี่ยง พร้อมทั้งสาธิตวิธีการใช้
    5.2 อบรมให้ความรู้เรื่องในการปฏิบัติตนและหมอกควัน
  6. สรุปและประเมินผลกิจกรรม
  7. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์
  8. กิจกรรมสนับสนุนและสาธิตวิธีการใช้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเป้าหมายรับรู้ และเข้าใจสถานการณ์และเข้าใจและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
  2. จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจลดน้อยลง

 

4,788 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรับรู้สถานการณ์เกิดความเข้าใจและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายและมีการรับรู้และเข้าใจทักษะการปฏิบัติตัว
0.00

 

2 . เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ จากการที่มีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กในปริมาณที่สูงเกินค่ามาตรฐาน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจลดน้อยลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายรับรู้สถานการณ์เกิดความเข้าใจและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง (2) . เพื่อป้องกันการป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ จากการที่มีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กในปริมาณที่สูงเกินค่ามาตรฐาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซีย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซีย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L4115-05-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยกระทิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด