กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ ค่ายแกนนำป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมีซานี อูเซ็ง

ชื่อโครงการ ค่ายแกนนำป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 22 เลขที่ข้อตกลง 19/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กันยายน 2562 ถึง 15 ตุลาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ค่ายแกนนำป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ค่ายแกนนำป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " ค่ายแกนนำป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กันยายน 2562 - 15 ตุลาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาใหญ่ที่เกิดจากหลายสาเหตุด้วยกัน การแก้ไขปัญหาจึงควรต้องดำเนินการพร้อมๆกันหลายวิธี ดังนี้ 1. ป้องกัน การป้องกันอาจทำได้หลายวิธี ได้แก่
- การสร้างภูมิคุ้มกันทางปัญญา คือการให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ เช่น โทษและอันตรายของยาเสพติด รูปลักษณะของยาเสพติด การป้องกันตนเองให้พ้นจากยาเสพติด เป็นต้น
- การส่งเสริมสถาบันครอบครัว คือการส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนเห็นความสำคัญของสถาบันครอบครัว ความรัก ความอบอุ่นและความเอาใจใส่ของคนในครอบครัวจะมีส่วนช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการเสพยาเสพติดได้เป็นอย่างมาก และควรสนับสนุนให้สมาชิกในครอบครัวหันไปสนใจในเรื่องกีฬาและออกกำลังกายในยามว่าง จะได้มีสุขภาพดี อารมณ์แจ่มใส และไม่ไปสนใจกับยาเสพติด
- การป้องกันมิให้มีการลักลอบผลิตและจำหน่ายยาเสพติด คือการควบคุมสารสำคัญและสารประกอบที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษอย่างเข้มงวด มีการกำหนดบทลงโทษแก่ผู้กระทำผิดอย่างรุนแรง
2. ปราบปราม การปราบปรามผู้ที่ลักลอบผลิต นำเข้าและจำหน่ายยาเสพติดอย่างจริงจังและต่อเนื่อง การตั้งสินบนรางวัลนำจับแก่ผู้ให้เบาะแสและผู้จับกุมผู้กระทำผิด และมีการลงโทษแก่ผู้กระทำผิดอย่างรุนแรง 3. บำบัดรักษา ผู้ที่เสพยาเสพติดที่ต้องการจะเลิกเสพยา ทางการแพทย์และทางราชการให้ถือว่าบุคคลเหล่านั้นเป็นผู้ป่วย สามารถเข้ารับการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลรักษาผู้ติดยาเสพติดทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีอยู่ทั่วประเทศ ซึ่งเมื่อบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพจนหายแล้ว ก็จะสามารถกลับไปดำเนินชีวิตได้ตามปกติ และเป็นคนดีของสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย
  2. เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานร่วมกันเรื่องความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชนลดลง เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย 2.ผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปีลดจำนวนลง 3.อาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานร่วมกันเรื่องความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

วันที่ 23 มิถุนายน 2563 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ประชุมวางแผน
  • เชิญวิทยากร
  • จัดหาวัสดุอุปกรณ์
  • จัดเตรียมสถานที่
  • จัดอบรมฯ
  • สรุปและรายงานผล 1.ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ 1 เมตร x 2 เมตร = 500 บาท

2.ค่าวิทยากร จำนวน1 คน x 6 ชั่วโมง x ชั่วโมงละ 600 บาท = 3600 บาท

3.ค่าอาหารว่าง100 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 5000 บาท

4.ค่าวัสดุอุปกรณ์ 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำที่เข้าร่วมอบรม 100 คน ได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้และถ่ายทอดแก่ผู้ปกครองได้

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย
ตัวชี้วัด : จำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อยลดลงเหลือ(ครั้ง)
30.00 20.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)
60.00 60.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานร่วมกันเรื่องความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : จำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานร่วมกันเรื่องความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย (2) เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี (3) เพื่อเพิ่มจำนวนอาสาสมัครและเครือข่ายที่ทำงานร่วมกันเรื่องความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ค่ายแกนนำป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมีซานี อูเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด