โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไปอินโดนีเซีย
ชื่อโครงการ | โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไปอินโดนีเซีย |
รหัสโครงการ | ๖๒-L๘๐๑๓-๕-๐๑ |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม |
วันที่อนุมัติ | 24 กันยายน 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 23 กันยายน 2562 - 31 ตุลาคม 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 15 ตุลาคม 2562 |
งบประมาณ | 41,800.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลรือเสาะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.369,101.508place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 5000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน) | 5,000.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สถานการณ์หมอกควันจากไฟไหม้ป่าบนเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ปกคลุมในหลายพื้นที่ของภาคใต้ยังคงวิกฤต ค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน รายชั่วโมง พุ่งสูงถึง 230 ลูกบาศก์เมตร ซึ่งรุนแรงที่สุดในรอบ 3 ปี จากสถานการณ์หมอกควันไฟป่าจากอินโดนีเซีย พัดมาปกคลุ่มพื้นทีภาคใต้ของประเทศไทย ส่งกระทบต่อสุขภาพต่อประชาชนเป็นจำนวนมาก ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม ถึง 30 กันยายน พบปริมาณฝุ่นละออง PM2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมงเกินเกณฑ์มาตรฐาน 1 วัน เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2561 ใน 4 จังหวัด คือ จังหวัดสตูล สงขลา ยะลา และจังหวัดนราธิวาส โดยค่าเฉลี่ย 24 ชั่วโมงสูงสุด ตรวจวัดได้ 63 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร สอดคล้องกับจำนวนจุดความร้อนสะสมบริเวณเกาะสุมาตราและบอร์เนียวเพิ่มสูงขึ้นในช่วงกลางเดือนสิงหาคม และทิศทางลมที่พัดในทิศตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้พัดพากลุ่มควันที่ปกคลุมที่บริเวณเกาะสุมาตรามาถึงตอนใต้ของประเทศไทย ดังนั้น เทศบาลตำบลรือเสาะจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะดำเนินโครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไปอินโดนีเซีย โดยหวังว่าจะช่วยแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไปอินโดนีเซียได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน) ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน) |
5000.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 23,300.00 | 0 | 0.00 | 23,300.00 | |
24 ก.ย. 62 - 31 ต.ค. 62 | บรรเทาความเดือนร้อนทางสุขภาพด้วยการแจกหน้ากากปิดจมูก | 0 | 23,300.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 23,300.00 | 0 | 0.00 | 23,300.00 |
- จัดทำโครงการเสนอต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลรือเสาะ
- ประชุมคณะทำงานเตรียมความพร้อมในการจัดทำโครงการ
- รณรงค์และประชาสัมพันธ์โครงการ(แห่รถประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวังและประชาสัมพันธ์แจกหน้ากากอนามัย)
- กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม แจกจ่ายหน้ากากอนามัยให้แก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง
ประชาชนในพื้นที่ได้รับการบรรเทาผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพจากหมอกควันไฟป่าอินโดนีเซียร้อยละ 100
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.ย. 2562 11:02 น.