กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่
รหัสโครงการ 2560-L3334-051
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อบต.เกาะหมาก
วันที่อนุมัติ 20 มีนาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 73,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกาะหมาก
พี่เลี้ยงโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะหมาก
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.435,100.329place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 7000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นหัญหาสาธารณสุขและมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นถ้าขาดการป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ในวันที่ 1 มกราคม - 7 มีนาคม 2560 ในเขตพื้นที่ตำบลเกาะหมากได้พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 12 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 472.07 ต่อแสนประชากร ดังนั้น เพื่อให้การควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกเป็นไปอย่างต่อเนื่องและเกิดประสิทธิภาพประสิทธิผลสูงสุด องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะหมาก จึงได้จัดทำโครงการป้งกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2560 ขึ้น เพื่อลดอัตราการป่วย และส่งเสริมให้ชุมชนเกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญ และมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อหใ้ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น

ประชาชนร้อยละ 90 มีพฤติกรรมเปลี่ยนถ่ายน้ำทุกวันศุกร์ ประชาชนร้อยละ 90 มีพฤติกรรมนอนกลางวันกางมุ้ง

2 เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในกิจกรรมการดำเนินงานป้องกันโรคไข้เลือดออก

ประชาชนร้อยละ 80 มีความพึงพอใจในกิจกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออก

3 เพื่อให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออก โดยใช้หลัก 5 ร่วม

ภาคีเครื่อข่ายร่วมมือกันแก้ปัญหาไข้เลือดออก

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ติดต่อประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง 2.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง 3.รณรงค์ เปลี่ยนถ่ายน้ำ/นอนกางมุ้ง/คว่ำภาชนะ/กำจัดแหลงเพาะพันธุ์ยุงลาย

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้น -พฤติกรรมเปลี่ยนถ่ายน้ำทุกวันศุกร์ ร้อยละ 90 -พฤติกรรมนอนกลางวันกางมุ้ง ร้อยละ 90 2.ประชาชนมีความพึงพอใจในกิจกรรมการดำเนินงานป้องกันโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 80

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 เม.ย. 2560 14:32 น.