โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุภาวดี จารุเศรษฐี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7252-01-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 26 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7252-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 26 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สาเหตุการเกิดโรคเรื้อรัง เกี่ยวข้องกับ ๕ ปัจจัยหลัก คือ ๑.การรับประทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม มากเกินไป
กินผักและผลไม้น้อย ๒.ขาดการออกกำลังกาย ๓.ความเตรียด ๔.สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และ๕.มีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้วางแผนแก้ไขป้องกันระยะยาว ๑๐ปี โดยจัดยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๓ เพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตคนไทย ให้ลดความเสี่ยงการเกิดโรค ลดปัญหาโรคแทรกซ้อน ลดความพิการ ลดการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และพัฒนารพ.สต.ซึ่งอยู่ใกล้บ้านที่สุด สามารถให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรังและป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเพิ่ม โดยในปี ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา ได้ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.ประจำหมู่บ้าน ๑ ล้านคน ออกตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ในประชาชนที่มีอายุ๑๕ ปีขึ้นไป ที่มีทั้งหมด ๕๓.๙ ล้านคน เริ่มตั้งแต่วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๕ จนถึงขณะนี้ ตรวจทั้ง ๒โรคไปแล้ว ๑,๕๘๙,๙๓๖ คน แบ่งเป็น โรคเบาหวาน ๖๒๖,๖๕๖ คน และโรคความดันโลหิตสูง ๙๖๓,๒๘๐ คน
จากผลการดำเนินงานโครงการในปี ๒๕๖๐ พบว่า ประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พร้อมทั้งได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำนวน ๘๑๘ คน พบประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง(ส่งต่อพบแพทย์) จำนวน๕๑ คน พบประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงโรค เบาหวาน (ส่งต่อพบแพทย์) จำนวน ๒๑ คน เสี่ยงโรค เบาหวาน ๓๒๕ คน พบประชาชนที่มีภาวะอ้วนลงพุงจำนวน ๒๕๐ คน พบประชาชนที่มีภาวะโรคความดันโลหิตสูง(รายเก่า)จำนวน๒๑๑ คน เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ๓๔๒ คนพบประชาชนที่มีภาวะโรคเบาหวาน(รายเก่า)จำนวน ๘๑ คน
และจากผลการดำเนินงานโครงการในปี ๒๕๖๑ พบว่า ประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาที่ได้เข้ารับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พร้อมทั้งได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำนวน ๙๐๙ คน ซึ่งแสดงถึงแนวโน้มในการใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนที่เพิ่มขึ้นและความเข้าถึงชุมชนของอสม.เขตเทศบาลเมืองสะเดา และจากการดำเนินโครงการครั้งนี้ พบผู้มีผลการตรวจเบาหวานและความดันโลหิตเป็นปกติ จำนวน ๔๒๖ คน ผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน ๒๖๘ คน เบาหวานรายเก่า ๕๓ คน เบาหวานรายใหม่ ๓๑ คน ภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ๔๗๕ คน ความดันฯรายเก่า ๘ คน ความดันฯรายใหม่ -
งานศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองสะเดา ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว
จึงได้จัดทำโครงการ สานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน ประจำปี๒๕๖๒ขึ้น เพื่อคัดกรองค้นหาผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง และส่งต่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
- เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่า
- เพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการดูแลตนเองเพื่อลดความรุนแรงของโรค และส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยง,ผู้ป่วยใหม่ หรือผู้ป่วยรายเก่า ที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์ เพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยรายใหม่ที่ตรวจคัดกรองพบ ได้รับการรักษา ลดความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรค
2.ประชาชนสามารถป้องกันและรู้จักวิธีการปฏิบัติตนเกี่ยวกับโรคที่ตนเองเป็นอยู่ได้อย่าง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พร้อมทั้งได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพตนเอง
2.พบประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน (ส่งต่อแพทย์) จำนวน 951 คน
3.พบประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน (ส่งต่อพบแพทย์) จำนวน 415 คน
4.พบประชาชนที่มีภาวะอ้วนลงพุง จำนวน 115 คน
5.พบประชาชนที่มีภาวะโรคความดันโลหิตสูง(รายเก่า) จำนวน 336 คน
6.พบประชาชนที่มีภาวะโรคเบาหวาน(รายเก่า) จำนวน 128 คน
ปัญหา/อุปสรรค
เนื่องจากในปีนี้มีสถานการณ์วิกฤตการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่โคโรน่า 2019 และเกิดมีมาตรการป้องกันโรคคือ อยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติ เป็นผลให้ประชาชนในพื้นที่ออกมาร่วมกิจกรรมลดลงเพราะการอยู่ในที่ชุมชน ถือเป็นภาวะเสี่ยง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
ตัวชี้วัด : ค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
0.00
2
เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่า
ตัวชี้วัด : ประเมินภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่า
0.00
3
เพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการดูแลตนเองเพื่อลดความรุนแรงของโรค และส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยง,ผู้ป่วยใหม่ หรือผู้ป่วยรายเก่า ที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์ เพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป
ตัวชี้วัด : ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการดูแลตนเองเพื่อลดความรุนแรงของโรค และส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยง,ผู้ป่วยใหม่ หรือผู้ป่วยรายเก่า ที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์ เพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
1,200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ (2) เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่า (3) เพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการดูแลตนเองเพื่อลดความรุนแรงของโรค และส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยง,ผู้ป่วยใหม่ หรือผู้ป่วยรายเก่า ที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์ เพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7252-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุภาวดี จารุเศรษฐี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน ”
ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุภาวดี จารุเศรษฐี
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7252-01-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 26 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7252-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 26 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สาเหตุการเกิดโรคเรื้อรัง เกี่ยวข้องกับ ๕ ปัจจัยหลัก คือ ๑.การรับประทานอาหารรสหวาน มัน เค็ม มากเกินไป
กินผักและผลไม้น้อย ๒.ขาดการออกกำลังกาย ๓.ความเตรียด ๔.สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และ๕.มีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้วางแผนแก้ไขป้องกันระยะยาว ๑๐ปี โดยจัดยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๖๓ เพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตคนไทย ให้ลดความเสี่ยงการเกิดโรค ลดปัญหาโรคแทรกซ้อน ลดความพิการ ลดการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และพัฒนารพ.สต.ซึ่งอยู่ใกล้บ้านที่สุด สามารถให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อรังและป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเพิ่ม โดยในปี ๒๕๕๕ ที่ผ่านมา ได้ให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและอสม.ประจำหมู่บ้าน ๑ ล้านคน ออกตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ในประชาชนที่มีอายุ๑๕ ปีขึ้นไป ที่มีทั้งหมด ๕๓.๙ ล้านคน เริ่มตั้งแต่วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๕ จนถึงขณะนี้ ตรวจทั้ง ๒โรคไปแล้ว ๑,๕๘๙,๙๓๖ คน แบ่งเป็น โรคเบาหวาน ๖๒๖,๖๕๖ คน และโรคความดันโลหิตสูง ๙๖๓,๒๘๐ คน
จากผลการดำเนินงานโครงการในปี ๒๕๖๐ พบว่า ประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พร้อมทั้งได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำนวน ๘๑๘ คน พบประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง(ส่งต่อพบแพทย์) จำนวน๕๑ คน พบประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงโรค เบาหวาน (ส่งต่อพบแพทย์) จำนวน ๒๑ คน เสี่ยงโรค เบาหวาน ๓๒๕ คน พบประชาชนที่มีภาวะอ้วนลงพุงจำนวน ๒๕๐ คน พบประชาชนที่มีภาวะโรคความดันโลหิตสูง(รายเก่า)จำนวน๒๑๑ คน เสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ๓๔๒ คนพบประชาชนที่มีภาวะโรคเบาหวาน(รายเก่า)จำนวน ๘๑ คน
และจากผลการดำเนินงานโครงการในปี ๒๕๖๑ พบว่า ประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาที่ได้เข้ารับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พร้อมทั้งได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพของตนเอง จำนวน ๙๐๙ คน ซึ่งแสดงถึงแนวโน้มในการใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนที่เพิ่มขึ้นและความเข้าถึงชุมชนของอสม.เขตเทศบาลเมืองสะเดา และจากการดำเนินโครงการครั้งนี้ พบผู้มีผลการตรวจเบาหวานและความดันโลหิตเป็นปกติ จำนวน ๔๒๖ คน ผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน ๒๖๘ คน เบาหวานรายเก่า ๕๓ คน เบาหวานรายใหม่ ๓๑ คน ภาวะเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ๔๗๕ คน ความดันฯรายเก่า ๘ คน ความดันฯรายใหม่ -
งานศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองสะเดา ได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว
จึงได้จัดทำโครงการ สานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน ประจำปี๒๕๖๒ขึ้น เพื่อคัดกรองค้นหาผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง และส่งต่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่
- เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่า
- เพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการดูแลตนเองเพื่อลดความรุนแรงของโรค และส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยง,ผู้ป่วยใหม่ หรือผู้ป่วยรายเก่า ที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์ เพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยรายใหม่ที่ตรวจคัดกรองพบ ได้รับการรักษา ลดความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนของโรค 2.ประชาชนสามารถป้องกันและรู้จักวิธีการปฏิบัติตนเกี่ยวกับโรคที่ตนเองเป็นอยู่ได้อย่าง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.ประชาชนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาที่ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน พร้อมทั้งได้รับคำแนะนำในการดูแลสุขภาพตนเอง 2.พบประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน (ส่งต่อแพทย์) จำนวน 951 คน 3.พบประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน (ส่งต่อพบแพทย์) จำนวน 415 คน 4.พบประชาชนที่มีภาวะอ้วนลงพุง จำนวน 115 คน 5.พบประชาชนที่มีภาวะโรคความดันโลหิตสูง(รายเก่า) จำนวน 336 คน 6.พบประชาชนที่มีภาวะโรคเบาหวาน(รายเก่า) จำนวน 128 คน ปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากในปีนี้มีสถานการณ์วิกฤตการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่โคโรน่า 2019 และเกิดมีมาตรการป้องกันโรคคือ อยู่บ้านหยุดเชื้อเพื่อชาติ เป็นผลให้ประชาชนในพื้นที่ออกมาร่วมกิจกรรมลดลงเพราะการอยู่ในที่ชุมชน ถือเป็นภาวะเสี่ยง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ตัวชี้วัด : ค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่า ตัวชี้วัด : ประเมินภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่า |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการดูแลตนเองเพื่อลดความรุนแรงของโรค และส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยง,ผู้ป่วยใหม่ หรือผู้ป่วยรายเก่า ที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์ เพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป ตัวชี้วัด : ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการดูแลตนเองเพื่อลดความรุนแรงของโรค และส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยง,ผู้ป่วยใหม่ หรือผู้ป่วยรายเก่า ที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์ เพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 1,200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ (2) เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่า (3) เพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการดูแลตนเองเพื่อลดความรุนแรงของโรค และส่งต่อผู้ที่มีภาวะเสี่ยง,ผู้ป่วยใหม่ หรือผู้ป่วยรายเก่า ที่ตรวจพบภาวะแทรกซ้อนไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์ เพื่อให้ได้รับการดูแลรักษาที่ถูกต้องต่อไป
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสานใจห่วงใยสถานการณ์โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7252-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุภาวดี จารุเศรษฐี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......