กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

      โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหัวควนได้ดำเนินการจัดทำโครงการ ชุมชน โรงเรียน ร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก เพื่อวัตถุประสงค์ลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคที่นำโดยยุงลาย เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในวัด โรงเรียนและชุมชน ให้ประชาชน นักเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม ส่งเสริมให้ประชาชน นักเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขมีพฤติกรรมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ เพื่อให้ประชาชน นักเรียนและอาสาสมัครสาธารณสุข มีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการ ชุมชน โรงเรียน ร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก โดยมีกลุ่มเป้าหมาย นักเรียนโรงเรียนวัดหัวควน ประชาชน และอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 150 คน โดยมีระยะเวลาในการดำเนินการ ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560     จากการดำเนินงานตามโครงการพบว่า     1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง     2. ก่อนดำเนินโครงการประชาชน นักเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม 91 คน คิดเป็นร้อยละ 60.66 หลังดำเนินโครงการประชาชน นักเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม 125 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 มีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสม เพิ่มขึ้นร้อยละ 22.67     3. ก่อนดำเนินโครงการประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันไข้เลือดออกได้ถูกต้อง จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 52.50 หลังดำเนินโครงการประชาชนมีพฤติกรรมการป้องกันไข้เลือดออกได้ถูกต้อง จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 82.50 ประชานมีพฤติกรรมการป้องกันไข้เลือดออกได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น ร้อยละ 30     4. ก่อนดำเนินโครงการนักเรียนมีพฤติกรรมการป้องกันไข้เลือดออกได้ถูกต้อง จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 54 หลังดำเนินโครงการนักเรียนมีพฤติกรรมการป้องกันไข้เลือดออกได้ถูกต้อง จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 82 นักเรียนมีพฤติกรรมการป้องกันไข้เลือดออกได้ถูกต้องเพิ่มขึ้น ร้อยละ 28     5. ก่อนดำเนินโครงการ อสม.มีพฤติกรรมการป้องกันไข้เลือดออกได้ถูกต้อง จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 70 หลังดำเนินโครงการ อสม.มีพฤติกรรมการป้องกันไข้เลือดออกได้ถูกต้อง จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 86.66 อสม.มีพฤติกรรมการป้องกันไข้เลือดออกได้ถูกต้องเพิ่มขึึ้น ร้อยละ 16.66     6. ประชาชน นักเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุข มีความพึงพอใจในกิจกรรมโครงการชุมชน โรงเรียน ร่วมใจทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก จำนวน 131 คน ร้อยละ 87.33
    รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ     งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลดอนประดู่ ประจำปีงบประมาณ 2560 จำนวน 30,000 บาท (สามหมื่นบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้     1. ค่าอาหารกลางวัน และค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ในการจัดประชุมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย 150 คน คนละ 1 วัน ดังนี้     - ค่าอาหารกลางวัน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 50 บาท  เป็นเงิน 7,500 บาท     - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท     2. กิจกรรมจัดประชุมติดตามแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 150 คน คนละ 1 ครั้ง ใช้งบประมาณ ดังนี้     - ค่าอาหารกลางวัน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท     - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คนละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 7,500 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชน นักเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1. จัดประชุมให้ความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม 1 ครั้ง 2 นักเรียน ประชาชน และอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 150 คน เข้ารับการประชุมให้ความรู้ เรื่อง การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก คนละ 1 ครั้ง

 

2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในวัด โรงเรียนและชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุข สำรวจแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในเขตตัวเอง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 2. นักเรียน ประชาชน และอาสาสมัครสาธารณสุข สำรวจแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายไขว้เขต เดือนละ 1 ครั้ง

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน นักเรียนและอาสาสมัครสาธารณสุขมีพฤติกรรมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียน ประชาชน และอาสาสมัครสาธารณสุขสำรวจแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในเขตตัวเอง สัปดาห์ละ 1 ครั้งติดต่อกัน 8 สัปดาห์ 2. นักเรียน ประชาชนและอาสาสมัครสาธารณสุขสำรวจแห่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายไขว้เขต เดือนละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 2 เดือน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน นักเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในวัด โรงเรียนและชุมชน (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน นักเรียนและอาสาสมัครสาธารณสุขมีพฤติกรรมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh