โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซียในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ประจำปี 2562 (ประเภท 5)
ชื่อโครงการ | โครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซียในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ประจำปี 2562 (ประเภท 5) |
รหัสโครงการ | 62 - L7884 - 5 - 20 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลจะบังติกอ |
วันที่อนุมัติ | 23 กันยายน 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 20 กันยายน 2562 - 15 ตุลาคม 2562 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 54,325.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวมาลี สมัยอุดม |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 20 ก.ย. 2562 | 15 ต.ค. 2562 | 54,325.00 | |||
รวมงบประมาณ | 54,325.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 25000 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสถานการณ์หมอกควันจากไฟป่าบริเวณเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ที่ปกคลุมในหลายพื้นที่ชองภาคใต้ยังคงวิกฤต ส่งผลให้คุณภาพอากาศในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองปัตตานี ตั้งแต่วันที่ 20กันยายน 2562 เป็นต้นมา พบค่าฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน เฉลี่ย 24 ชั่วโมง มีค่าเกินเกณฑ์มาตรฐาน (50ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ทำให้ส่งผลกระทบทางด้านสุขภาพระบบทางเดินหายใจกับประชาชนในพื้นที่ อาสาสมัครสาธารณสุข ในฐานะใกล้ชิดกับประชาชนในชุมชน และมีส่วนร่วม ในการดูแลสุขภาพให้กับประชาชนในชุมชน ได้ตระหนักถึงการป้องกันและดูแลตนเองจากสถานการณ์หมอกควันไฟป่า อินโดนีเซีย โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงอาจได้รับผลกระทบจากหมอกควันได้ง่าย ได้แก่ เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ โรคหอบหืด หากมีอาการผิดปกติ เช่น ไอ แน่นหน้าอก หายใจติดขัด หายไม่อิ่ม แสบตา น้ำมูกไหล ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน เหนื่อยง่าย ส่งผลกระทบสร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชน ซึ่งจำเป็นต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร่งด่วน จึงได้จัดทำโครงการแก้ปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพจากหมอกควันไฟอินโดนีเซียในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ประจำปี2562 โดยประสานความร่วมมือจาก กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองปัตตานี เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มอายุ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงอาจได้รับผลกระทบจากหมอกควันได้ง่าย ได้แก่ เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ โรคหอบหืด รวมถึงประชาชนกลุ่มอื่นๆที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์หมอกควันไฟป่าอินโดนีเซียครั้งนี้ ให้สามารถได้รับการช่วยเหลือและดูแลในสถานการณ์หมอกควันไฟป่าอินโดนีเซียได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควัน ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟไหม้ป่า(คน) |
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
20 ก.ย. 62 - 15 ต.ค. 62 | กิจกรรมประชาสัมพันธ์ และให้คำแนะนำประชาชนเรื่องการปฏิบัติตน เพื่อป้องกันหมอกควันอินโด – มาเลย์ | 0 | 3,575.00 | - | ||
20 ก.ย. 62 - 15 ต.ค. 62 | กิจกรรมแจกหน้ากากอนามัย ให้ประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมือง เพื่อป้องกันหมอกควัน | 0 | 50,000.00 | - | ||
20 ก.ย. 62 - 15 ต.ค. 62 | ประชุมสรุปผลการดำเนินการ | 0 | 750.00 | - | ||
รวม | 0 | 54,325.00 | 0 | 0.00 |
- สำรวจความเดือดร้อนการและผลกระทบต่อสุขภาพจากควันไฟจากอินโดนีเซีย ประชาชนในพื้นที่
- จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินการ
- ประชุมทีมงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางป้องกันโรคระบบทางเดินหายใจแก่ประชาชนในสถานการณ์หมอกควันไฟป่าอินโดนีเซีย
- ประชาสัมพันธ์สถานการณ์หมอกควันไฟป่าจากเกาะสุมาตรประเทศอินโดนีเซียที่เกิดขึ้นให้กับประชาชนและสื่อสารให้ประชาชนในพื้นที่ แนะนำการปฏิบัติตัว วิธีป้องกันและดูแลสุขภาพตนเอง ผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่ facebook ไลน์นายกพบประชาชน ไลน์ขุมชน ป้ายไวนิล และเสียงตามสายประชาสัมพันธ์เทศบาล
- ติดตามเยี่ยม ดูแลกลุ่มเสี่ยงเป็นพิเศษ ได้แก่ กลุ่มมีโรคประจำตัวหอบหืด COPD , ผู้สูงอายุ, ผู้ป่วยติดเตียง, เด็กเล็กและหญิงตั้งครรภ์ ให้เลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้งโดยไม่จำเป็น แจกหน้ากากอนามัย
- จัดซื้อหน้ากากอนามัยให้ประชาชนสวมใส่เพื่อป้องกันฝุ่นละอองในอากาศจากหมอกควันอินโดนีเซีย
- ประชุมสรุปผลการดำเนินการ
ประชาชนในพื้นที่ได้รับการบรรเทาผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพจากหมอกควันไฟป่าอินโดนีเซีย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ก.ย. 2562 11:15 น.