กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่


“ โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2560 ”

รพ.สต.ดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประจวบ เปียกลับ

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ รพ.สต.ดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3336-2-9 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.ดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.ดอนประดู่ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3336-2-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลผู้สูงอายุและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน ถือเป็นแนวทางสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้พิการอย่างยั่งยืน โดยมีญาติหรือผู้ดูแลและคนในชุมชนมีส่วนร่วม เนื่องจากภาวะเสื้อมทางร่างกายของผู้สูงอายุและความพิการจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ทำให้ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เทียบเท่าคนปกติทั่วไป และมักจะไม่สามารถเข้าถึงระบบบริการทางสาธารณสุข ส่งผลให้ขาดการดูแล รักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม มีผลต่อคุณภาพชีวิที่ลดลงรวมไปถึงการเป็นภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล จากผลการดำเนินงานผู้สูงอายุและผู้พิการที่ผ่านมาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ ทำให้ทราบถึงปัญหาของการเข้าถึงบริการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพ และขาดการรับทราบข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสมรรถภาพ ทำให้ขาดโอกาสในการรับการสร้างเสริมและฟื้นฟูสภาพร่างกายให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันและช่วยเหลือตัวเองได้ดี จากการสำรวจพบว่า ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ มีปัญหาด้านสุขภาพและมีวิธีดูแลสุขภาพของตนเองและของครอบครัวยังไม่ดีเท่าที่ควร ซึ่งปัญหาสุขภาพที่สำคัญของครอบครัว ได้แก่การเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น โรคไข้หวัด ปวดศีรษะ ปวดขา โรคกระเพาะ ปัญหาโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อ และปัญหาสุขภาพจิต ซึ่งล้วนแต่ะป็นปัญหาสุขภาพที่มีผลกระทบต่อครอบครัวในด้านการใช้ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ ค่าใช้จ่าย และด้านจิตใจ ซึ่งวิธีการดูแลสุขภาพของครอบครัวเมื่อเกิดการเจ็บป่วย พบว่าครอบครัวส่วนใหญ่ จะทราบวิธีการดูแลสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อยได้ดี นอกจากนี้ ยังมีการดูแลที่ไม่ถูกต้อง เช่น การดูแลผู้สูงอายุ การดูแลฟื้นฟูผู้พิการเพื่อลดปัญหาแผลกดทับ การดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เป็นต้น ทำให้เกิดปัญหาภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ น้ำตาลในเลือดสูง หรือมีภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ เป็นต้น ซึ่งวิธีการดูแลที่ไม่ถูกต้องนี้อาจส่งผลให้เกิดอันตรายหรือทำให้เกิดความพิการมากยิ่งขึ้นทั้ง ๆ ที่สามารถป้องกันหรือรักษาได้ ด้วยเหตุนี้ หากมีการส่งเสริมสนับสนุนให้ครอบครัวและชุมชนสามารถดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการได้ มีระบบการเฝ้าระวังดูแลปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้พิการ เพื่อลดอันตายหรือเพื่อลดความพิการที่อาจเกิดขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดอนประดู่ รับผิดชอบหมู่บ้าน จำนวน 3 หมู่บ้าน มีประชากรทั้งหมด 1,937 คน มีบุคลากรสาธารณสุข 3 คน ประกอบด้วย นักวิชาการสาธารณสุข 1 คน พยาบาลวิชาชีพ 1 คน และเจ้าพนักงานสาธารณสุข 1 คน นอกจากนี้ ยังมี อสม. จำนวน 46 คน ซึ่งจะต้องดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ จำนวน 497 คน แบ่งเป็นผู้สูงอายุที่ติดเตียง จำนวน 5 คน ผู้สูงอายุที่ติดบ้าน จำนวน 21 คน และติดสังคม จำนวน 468 คน ผู้พิการ จำนวน 30 คน ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 24 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 104 คน และผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 57 คน โดยจำนวนบุคลากรสาธาณสุขที่มีนั้น ไม่เพียงพอต่อการให้บริการ โดยเฉพาะการให้บริการในชุมชน ซึ่งพบว่ายังมีปัญหาสุขภาพอีกมากมายที่ยังเข้าไปไม่ถึง แต่เนื่องจากยังคงมีองค์กรต่าง ๆ ในชุมชนอีกมากมาย หากมีการพัฒนาศักยภาพให้สามารถดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนได้ จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชน ดังนั้น โครงการนี้จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุและผู้พิการโดยมีบุคลากรสาธารณสุขเป็นพี่เลี้ยง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้อง
  2. เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้ถูกต้อง 2.ผู้สูงอายุมีการปรับตัวได้ดีขึ้น สนใจเข้ากลุ่มร่วมกิจกรรมในชมรมอย่างต่อเนื่อง 3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่ป่วยด้วยโรคหรือได้รับอุบัติเหตุที่เกิดจากการปฏิบัติตนที่ไม่ถูกต้อง 4.เกิดความเข้าใจและสามัคคีระหว่างผู้สูงอายุด้วยกัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการผู้สูงวัย สุขภาพดีปีงบประมาณ 2560 ผลการดำเนินงาน   1. สมาชิกชมรมผู้สูงอายุได้รับความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องร้อยละ 87   2. ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพหรือพบแพทย์ ร้อยละ 92 งบประมาณ   1. ค่าอาหารกลางวันกิจกรรมประชุมส่งเสริมสุขภาพจิตสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 70 คน คนละ 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 4,900 บาท   2.  ค่าอาหารว่างกิจกรรมประชุมส่งเสริมสุขภาพจิตสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 70 คน คนละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท   3. ค่าจัดสถานที่และทำความสะอาดสถานที่ เป็นเงิน 600 บาท   4. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน  1,000 บาท   รวมทั้งหมดเป็นเงิน  10,000 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคทั่วไปในผู้สูงอายุลดลง เมื่อเทียบและเทียบกับปีที่ผ่านมา

     

    2 เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : ชมรมผู้สูงอายุมีการจัดการประชุมและจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 70
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้อง (2) เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการผู้สูงวัยสุขภาพดี ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3336-2-9

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประจวบ เปียกลับ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด