กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการควบคุมไข้เลือดออกในชุมชน ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางศรัณยา ปูเตะ

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมไข้เลือดออกในชุมชน ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมไข้เลือดออกในชุมชน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมไข้เลือดออกในชุมชน ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมไข้เลือดออกในชุมชน ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเตงนอก อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 177,787.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกของจังหวัดยะลา พบว่าการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกอยู่ลำดับที่ 6 ของประเทศ และลำดับที่ 1 ของเขต 12 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก(597 ราย) 113.76  ต่อแสนประชากรแสนคน และในเขตตำบลสะเตงนอก จังหวัดยะลา มีผู้ป่วยทั้งหมด 12 ราย อัตราป่วย 36.9 ต่อแสนประชากรแสนคน ในช่วงเวลาเดียวกันปี 2562 มีรายงานผู้ป่วยมากกว่าปี 2561 : 3 เท่า คาดว่าในปี 2562      จะมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 1,536 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 290.44 ต่อประชากรแสนคน ซึงสูงกว่าปี 2561  ที่มีผู้ป่วยจำนวน 503 ราย(ข้อมูล ณ วันที่ 9 กรกฎาคม 2562) และจะพบสูงในช่วงเดือนมิถุนายน - สิงหาคม เนื่องจากเป็นช่วงฤดูฝน ทำให้มีเก็บกักน้ำฝนในภาชนะต่างๆ จำนวนมาก โดยเฉพาะภาชนะที่อยู่นอกบ้าน หรือภาชนะที่ไม่ได้ใช้แล้ว ส่งผลให้มีเพาะพันธุ์ยุงลายจำนวนมากขึ้น แต่อย่างไรก็ตามในภาคใต้มักจะมีฝนตกมากในช่วงปลายปี (พฤศจิกายน - ธันวาคม) จึงมีโอกาสที่จะเกิดการระบาดในช่วงปลายปีแล้วต่อเนื่องไปยังต้นปีของปีถัดไป
กลุ่มเสี่ยงต่อการป่วยโรคไข้เลือดออกยังคงอยู่กลุ่มเด็กวัยเรียน (5-14 ปี) และวัยผู้ใหญ่ตอนต้น (15-24 ปี)  แต่กลุ่มเสี่ยงต่อการเสียชีวิตเป็นวัยผู้ใหญ่ (อายุ 35 ปีขึ้นไป) โดยเฉพาะกลุ่มอายุ 45 – 54 ปี และ 60 ปีขึ้นไป มีอัตราป่วยตายสูงกว่าในวัยเด็ก 3 – 4 เท่า เนื่องจากผู้ใหญ่และผู้สูงอายุมักมีโรคประจำตัว เรื้อรังทำให้เมื่อป่วยเป็นไข้เลือดออกจะมีภาวะแทรกซ้อน เช่น ตับวาย ไตวาย ที่รักษาได้ยาก นอกจากนี้ผู้ใหญ่ ส่วนมากเมื่อป่วยมักซื้อยารับประทานเองหรือไปฉีดยาลดไข้ที่คลินิก ทำให้ไม่ได้ไปตรวจหาสาเหตุของไข้ ที่โรงพยาบาลแต่เนิ่นๆ จึงได้รับ  การรักษาที่เหมาะสมล่าช้า ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองสะเตงนอก อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและฐานะทางเศรษฐกิจของประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองสะเตงนอก จึงได้จัดทำโครงการควบคุมไข้เลือดออกในชุมชนปีงบประมาณ 2562 ขึ้น โดยดำเนินการ ๒ กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมรณรงค์ไข้เลือดออก ควบคุมยุงพาหะ ไม่พบลูกน้ำยุงลายในทุกบ้าน ทุกชุมชน ทุกพื้นที่ และกิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมควบคุมการระบาด พ่นสารเคมีทำลายยุง ในบ้านผู้ป่วยและรัศมี 200 เมตร ถ้ามีรายป่วยจำนวนมากแล้วให้พ่นทั้งหมู่บ้าน โดยต้องเป็น ULV เท่านั้น และต้องพ่นสารเคมี 4 ครั้ง ในวันที่ 0, 1, 3 และ 7 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชน และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบ้านและบริเวณใกล้เคียงโดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯเทศบาลเมืองสะเตงนอก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากรแสนคน
  2. 2. เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 10
  3. 3. เพื่อให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมรณรงค์ไข้เลือดออก ควบคุมยุงพาหะ ไม่พบลูกน้ำยุงลายในทุกบ้าน ทุกชุมชน ทุกพื้นที่
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมควบคุมการระบาด พ่นสารเคมีทำลายยุง ในบ้านผู้ป่วยและรัศมี 200 เมตร ถ้ามีผู้ป่วยจำนวนมากให้พ่นทั้งหมู่บ้าน โดยต้องเป็น ULV เท่านั้น และต้องพ่นสารเคมี 4 ครั้ง ในวันที่ 0,1,3 และวันที่ 7

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 13
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
2.ดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนลดลง
2.ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมรณรงค์ไข้เลือดออก ควบคุมยุงพาหะ ไม่พบลูกน้ำยุงลายในทุกบ้าน ทุกชุมชน ทุกพื้นที่

วันที่ 28 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 2.แจกทรายกำจัดลูกน้ำยุงลาย 3.พ่นหมอกควัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อัตราป่วยด้วยโรคไขเลือดออกลดลง 2.ประชาชนมีความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

0 0

2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมควบคุมการระบาด พ่นสารเคมีทำลายยุง ในบ้านผู้ป่วยและรัศมี 200 เมตร ถ้ามีผู้ป่วยจำนวนมากให้พ่นทั้งหมู่บ้าน โดยต้องเป็น ULV เท่านั้น และต้องพ่นสารเคมี 4 ครั้ง ในวันที่ 0,1,3 และวันที่ 7

วันที่ 28 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.พ่นหมอกควันกำจัดยุงตัวแก่ 2.สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 3.สอบสวนโรคเพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากรแสนคน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 10
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. เพื่อให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 13
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 13
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากรแสนคน (2) 2.  เพื่อลดดัชนีลูกน้ำยุงลายค่า HI และค่า CI ในชุมชนไม่เกินร้อยละ 10 (3) 3.  เพื่อให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่  1 กิจกรรมรณรงค์ไข้เลือดออก ควบคุมยุงพาหะ ไม่พบลูกน้ำยุงลายในทุกบ้าน ทุกชุมชน ทุกพื้นที่ (2) กิจกรรมที่ 2  กิจกรรมควบคุมการระบาด พ่นสารเคมีทำลายยุง ในบ้านผู้ป่วยและรัศมี 200 เมตร ถ้ามีผู้ป่วยจำนวนมากให้พ่นทั้งหมู่บ้าน โดยต้องเป็น ULV เท่านั้น และต้องพ่นสารเคมี 4 ครั้ง ในวันที่ 0,1,3 และวันที่ 7

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมไข้เลือดออกในชุมชน ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศรัณยา ปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด