กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ”
ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางปาจรี ปาณะศรี




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค

ที่อยู่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5215-1-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5215-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 500,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเขารูปช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ยุงลายเป็นพาหะนำโรคติดเชื้อไวรัสหลายชนิด สองสปีชีส์ที่โดดเด่นที่สุดที่ส่งผ่านไวรัส คือ Aedes aegypti และ Aedes albopictus ซึ่งส่งผ่านไวรัสที่ก่อโรคไข้เด็งกี ไข้เหลือง ไข้ไนล์ตะวันตก ชิคุนกุนยา และสมองอักเสบม้าตะวันออก เป็นต้น การติดเชื้อไวรัสเหล่านี้มักมีอาการไข้ และสมองอักเสบในบางกรณีซึ่งนำไปสู่การเสียชีวิต ยุงลายจะวางไข่ในภาชนะที่มีขอบ มีผนัง เนื่องจากแม่ยุงลายเวลาวางไข่ต้องมีผนังไว้เดินไต่ และวางไข่เหนือผิวน้ำประมาณ 1 เซนติเมตร ยุงลายจึงไข่เหนือน้ำ ไม่ได้ไข่ในน้ำเหมือนยุงชนิดอื่น ห้วยหนองที่มีน้ำขังตามธรรมชาติจึงไม่ใช่แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ยุงลายจะวางไข่ในน้ำใส น้ำนิ่ง ส่วนลูกน้ำที่พบในน้ำเน่า ในคู ที่นำมาเลี้ยงปลากัดนั้น ส่วนใหญ่เป็นลูกน้ำยุงรำคาญ ไม่ใช่ลูกน้ำยุงลาย ยุงลายเป็นยุงที่อาศัยอยู่ในบ้าน มีเหยื่อให้ดูดเลือดอยู่แล้ว และยังมีที่ให้วางไข่ ที่ให้เกาะพักอีกด้วย จึงไม่จำเป็นจะต้องบินไปหากินไกลๆ ยุงลายชอบเกาะพักในที่มืด อับชื้น และมักจะกลัวแดดกลัวลม จะไม่บินไปวางไข่หรือกัดคนกลางแจ้งเด็ดขาด ภาชนะที่วางกลางแดด กลางแจ้งจะไม่เป็นที่วางไข่ของยุงลาย การจัดบ้านให้สว่าง โล่ง โปร่ง ลมพัดดี ก็จะทำให้ยุงลายไม่มากัดคนในบ้าน โรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มักมีการระบาดเป็นวงกว้างในฤดูฝน โดยเฉพาะช่วงต้นฤดูฝน ที่มีฝนตกกะปริดกะปรอย จะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก เนื่องจากฝนตกไม่ต่อเนื่อง ทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆ จึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรยุงลายเป็นอย่างดี การป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ควรต้องเตรียมความพร้อม ควบคุม กำจัดยุงลายก่อนถึงช่วงฤดูระบาดของโรค เพื่อลดจำนวนประชากรยุงลายในพื้นที่ ปัจจัยการระบาด

ที่สำคัญที่ทำให้เกิดการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปอย่างกว้างขวาง ได้แก่การเพิ่มจำนวนประชากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มมากขึ้น มีการเคลื่อนไหวของประชากร และมียุงลายมากขึ้นตามภาชนะขังน้ำ ที่มนุษย์สร้างขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ทำให้มีการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกอย่างรวดเร็ว
      ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเขารูปช้าง จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ในเขตเทศบาลเมืองเขารูปช้างขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมรับมือกับโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ เพื่อลดโอกาสการถูกยุงลายกัด ลดความเสี่ยงของประชากรในชุมชนต่อการติดเชื้อ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราป่วยด้วยโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค
  2. ประชาชนปรับปรุงสิ่งแวดล้อมไม่ให้เอื้ออำนวยต่อการเป็นแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค

วันที่ 1 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.1จัดกิจกรรมเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรคแก่ประชาชน โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ประชาสัมพันธ์และพ่นสารเคมีเพื่อป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ในชุมชนสถานศึกษา หน่วยงานของรัฐและเอกชน ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม พศ2562-30 กันยายน 2563 1.2จัดกิจกรรม "โรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย ครั้งที่ 1" วันที่ 14 มกราคม 2563 ณ โรงเรียนเทศบาล 1 บ้านเขาแก้ว 1.3พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 65 ราย จากจำนวนประชากรทั้งสิ้น 43,020 คน คิดเป็นอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 27.96 ต่อประชากร พบผู้ป่วยโรคชิคุนกุนยา จำนวน 1 ราย
1.4ไม่พบผู้ป่วยตามด้วยโรคไข้เลือดออก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.บรรลุตามวัตถุประสงค์ 2.กิจกรรม "โรงเรียนปลอดลูกน้ำยุงลาย ครั้งที 1" มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 70 คน 2.1กิจกรรม รณรงค์ป้องกันและควบคุมโครงการป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค จำนวน 295 คน 2.3กิจกรรมเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรคแก่ประชาชน จำนวน 43,020 คน

 

40,000 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5215-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปาจรี ปาณะศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด