กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนปลอดโรค หมู่ที่ 11 ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายวันซูลกัรนัย หะยีมะปีเยาะ

ชื่อโครงการ โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนปลอดโรค หมู่ที่ 11

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2480-2-03 เลขที่ข้อตกลง 01/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 สิงหาคม 2563 ถึง 19 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนปลอดโรค หมู่ที่ 11 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนปลอดโรค หมู่ที่ 11



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนปลอดโรค หมู่ที่ 11 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2480-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 สิงหาคม 2563 - 19 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาขยะ เป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศ ซึ่งยากที่จะแก้ไขและสาเหตุหนึ่งเกิดจากประชาชนไม่รู้จักวิธีการบริหารจัดการขยะที่เกิดขึ้น ส่วนมากแล้วจะทิ้งลงข้างทางบ้าง หรือทิ้งลงตามแม่น้ำ ลำคลองบ้างและสำหรับการทิ้งขยะลงแม่น้ำจะทำให้น้ำเกิดการเน่าเสียได้ ส่วนหนึ่งเกิดจากสาเหตุที่คนทั่วไปไม่รู้จักการคัดแยกขยะ นอกจากนี้ รัฐบาลได้กำหนดให้ขยะเป็นวาระแห่งชาติ เพื่อเป็นการสนองนโยบายและการแก้ไขปัญหาขยะ ชุมชนบ้านชอมอง จึงต้องสร้างจิตสำนึกของการห้ามทิ้งขยะโดยปลูกฝังให้แก่เยาวชนและประชาชน พร้อมทั้งจัดหาวิธีการดำเนินการจัดการเกี่ยวกับขยะเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล เนื่องจากการคัดแยกขยะมีประโยชน์มาก พร้อมกับเสนอวิธีการคัดแยกขยะ กำจัดขยะอย่างถูกวิธี เพื่อนำไปสู่ขั้นตอนการจัดการขยะที่ถูกต้อง
ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนในหลายๆด้าน และมีลักษณะคล้ายกันเกือบทั่วประเทศ ทำให้เกิดมลพิษในดิน ในน้ำ และในอากาศ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆและพาหนะนำโรค ทำลายทัศนียภาพ อีกทั้งก่อให้เกิดเหตุรำคาญเกิดปัญหาเรื่องกลิ่น แมลงรบกวนในชุมชน ปัญหาด้านขยะมูลฝอยเกิดขึ้นกับชุมชนทุกแห่ง ทั้งเมืองขนาดเล็ก ถึงเมืองใหญ่ในตัวจังหวัด อำเภอ ตำบล หรือแม้กระทั้งในชุมชนเอง หมู่บ้านชอมองก็เป็นอีกหมู่บ้านที่ประสบกับปัญหาด้านการจัดการขยะมูลฝอยซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่ยังใช้วิธีการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการแบบเดิมๆ คือ การฝังกลบและเผากลางแจ้ง ซึ่งเป็นวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกวิธี จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการปนเปื้อนของมลพิษต่อดินและแหล่งน้ำ ที่สำคัญกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ และแหล่งพาหะนำโรค ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อบต.มะรือโบออกได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการคัดแยกขยะและการบริหารจัดการขยะเพื่อชุมชนปลอดโรคขึ้นโดยเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกต้อง ตั้งแต่ต้นทาง ระหว่างทาง และปลายทาง สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆและลดพาหะนำโรคเพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนในชุมชนบ้านชอมอง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ
  2. 2. เพื่อเป็นการเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะมาใช้ใหม่ได้อีก
  3. 3. เพื่อลดปริมาณขยะที่นำไปกำจัด ณ แหล่งกำจัดขยะขององค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออกและลดปริมาณขยะที่ต้องฝังกลบ ขยะตกค้าง ทำให้ลดมลภาวะจากขยะในชุมชนได้
  4. 4. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ
  5. 5. เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนหมู่บ้านชอมอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะให้ปลอดโรค
  2. สาธิตการคัดแยกขยะและการกำจัดขยะให้ถูกวิธี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มประชาชนทั่วไป 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 สร้างความมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะ มาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ 2 การเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะเข้ามาใช้ได้อีกใน อนาคต
3 ปริมาณขยะที่นำไปกำจัด ณ หลุมขยะองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออกมีปริมาณ ลดลง และสามารถลดปริมาณขยะที่ต้องฝังกลบ ลดขยะตกค้าง ทำให้ลดมลภาวะจากขยะชุมชนลงได้ 4 สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหนะนำโรคต่างๆ 5 ประชาชนหมู่บ้านชอมองตำบลมะรือโบออกมีสุขภาวะที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะให้ปลอดโรค

วันที่ 19 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชนอสม.และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อจัดทำโครงการฯ
  2. เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการ สปสช. ตำบลมะรือโบออก เพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ
  3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ
  4. แจ้งผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. และภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวข้อง
  5. รับสมัครครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมคัดแยกขยะ
  6. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ
  7. จัดหาอุปกรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้เกิดการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ
  2. ทำให้เกิดการเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะมาใช้ใหม่ได้อีก
  3. ทำให้ลดปริมาณขยะที่นำไปกำจัด ณ แหล่งกำจัดขยะขององค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออกและลดปริมาณขยะที่ต้องฝังกลบ ขยะตกค้าง ทำให้ลดมลภาวะจากขยะในชุมชนได้
  4. ทำให้ลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ
  5. ทำให้มีสุขภาวะที่ดีของประชาชนหมู่บ้านชอมอง

 

65 0

2. สาธิตการคัดแยกขยะและการกำจัดขยะให้ถูกวิธี

วันที่ 19 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชนอสม.และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายเพื่อจัดทำโครงการฯ
  2. เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการ สปสช. ตำบลมะรือโบออก เพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ
  3. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ
  4. แจ้งผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อสม. และภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวข้อง
  5. รับสมัครครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมคัดแยกขยะ
  6. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะ
  7. จัดหาอุปกรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ทำให้เกิดการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ
  2. ทำให้เกิดการเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะมาใช้ใหม่ได้อีก
  3. ทำให้ลดปริมาณขยะที่นำไปกำจัด ณ แหล่งกำจัดขยะขององค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออกและลดปริมาณขยะที่ต้องฝังกลบ ขยะตกค้าง ทำให้ลดมลภาวะจากขยะในชุมชนได้
  4. ทำให้ลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ
  5. ทำให้มีสุขภาวะที่ดีของประชาชนหมู่บ้านชอมอง

 

64 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ
ตัวชี้วัด :
60.00 60.00

 

2 2. เพื่อเป็นการเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะมาใช้ใหม่ได้อีก
ตัวชี้วัด :
60.00 60.00

 

3 3. เพื่อลดปริมาณขยะที่นำไปกำจัด ณ แหล่งกำจัดขยะขององค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออกและลดปริมาณขยะที่ต้องฝังกลบ ขยะตกค้าง ทำให้ลดมลภาวะจากขยะในชุมชนได้
ตัวชี้วัด :
60.00 60.00

 

4 4. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ
ตัวชี้วัด :
60.00 60.00

 

5 5. เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนหมู่บ้านชอมอง
ตัวชี้วัด :
60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มประชาชนทั่วไป 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนให้สามารถลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ นำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบ (2) 2. เพื่อเป็นการเสริมสร้างจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและสามารถนำขยะมาใช้ใหม่ได้อีก (3) 3. เพื่อลดปริมาณขยะที่นำไปกำจัด ณ แหล่งกำจัดขยะขององค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออกและลดปริมาณขยะที่ต้องฝังกลบ ขยะตกค้าง ทำให้ลดมลภาวะจากขยะในชุมชนได้ (4) 4. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและพาหะนำโรคต่างๆ (5) 5. เพื่อสุขภาวะที่ดีของประชาชนหมู่บ้านชอมอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะให้ปลอดโรค (2) สาธิตการคัดแยกขยะและการกำจัดขยะให้ถูกวิธี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดแยกขยะเพื่อชุมชนปลอดโรค หมู่ที่ 11 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2480-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวันซูลกัรนัย หะยีมะปีเยาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด