กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรกับการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน ) ชุมชนเมืองใหม่ 6นรินทร์ธร ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 63-L7255-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชุมชนเมืองใหม่ 6 นรินทร์ธร เทศบาลเมืองคลองแห
วันที่อนุมัติ 25 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2562 - 31 กรกฎาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2563
งบประมาณ 26,790.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย ประทีบ ปรางยิ้ม ประธานชุมชนเมืองใหม่ 6 นรินทร์ธร
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานคนพิการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2562 31 ก.ค. 2563 26,790.00
รวมงบประมาณ 26,790.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

ระบุ

กลุ่มผู้สูงอายุ 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม
20.00
2 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
20.00
3 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
32.00
4 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน
15.00
5 อัตราการใช้สมุนไพรในการรักษาพยาบาลและปเองกันฏรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน
5.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานับพันปี แต่เมื่อยาแผนปัจจุบันเริ่มเข้ามามีบบทบาทในบ้านเราสรรคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทยอันเป็นสิ่งที่เรียกว่า ภูมิปัญญาโบราณก็เริ่มถูกบดบังไปเรื่อยๆ และถูกทอกทิ้งไปในที่สุด ซึ่งความเป็นจริงคนส่วนใหญ่ก็พอรู้กันว่า สมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ได้อย่างกว้างขวางแต่เป็นเพราะใช้รักษาโรคแผนใหม่มานานมากจนวิชาการแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาถูกลืมจนต่อไม่ติด ทำให้เยาวชนรุ่นหลังๆ รู้จักสมุนไพรไทยได้น้อยมาก และแทบจะไม่รู้จักเลย ทั้งๆที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้ๆตัวเรานี้เอง
    สมุนไพรเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของคนไทยเนื่องจากคนไทยสมัยก่อนมรการพึ่งพาตนเองด้านการรักษาพยาบาลสูง ด้วยเหตุที่สมัยก่อนยังไม่มีสถานบริการด้านสาธารณสุขบริการประชาชนอย่างทั่วถึงเหมือนปัจจุบัน เมื่อเกิดการเจ็บป่วยขึ้นในชุมชนหรือคนในครอบครัวจึงมีการนำสมุนไพรมาใช้ในการรักษาเบื้องต้น หรือรักษาพยาบาลกับหมอพื้นบ้านในหมู่บ้านตนเอง เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย โดยอาศัยภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุ และปัจจุบันประเทศไทยได้มีการสนใจใช้ยาสมุนไพรมากขึ้น เนื่องจากการรักษาแพทย์แผนปัจจุบันบางครั้งมีผลข้างเคียงในบางโรคและมีขีดจำกัดในการรักษา เช่น โรคมะเร็ง ซึ่งต้องการมีแนวทางการรักษาด้วยการแพทย์ทางเลือกก็เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลของกระแสโรคและสามารถนำสมุนไพรในชุมชนมาใช้ในการป้องกันโรคได้อย่างถูกวิธี และจากการทำโครงการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ ในชุมชน พบผู้มีภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน รอบเอวเกิน ร้อยละ 45 และมีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ที่ขาดการรักษาที่ต่อเนื่องจำนวน 5 ราย ทางชุมชนตระหนักถึงปัญหา จึงมีความคิดที่จะส่งเสริมให้ชุมชนโดยนำสมุนไพรที่ปลูกไว้บริเวณรอบๆ บ้าน มาใช้เกิดการดูแลสุขภาพโดยใช้เป็นยารักษาโรคความดัน เบาหวาน การควบคุมไขมัน โดยใช้ร่วมภูมิปัญญาท้องถิ่น ลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และเกิดภูมิปัญญาพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ และลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสู. โรคเบาหวาน ภาวะดัชนีมวลกายเกิน ในชุมชนต่อไปอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืนโดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคลองแห

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

35.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

20.00 15.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

32.00 25.00
4 เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

15.00 30.00
5 เพิ่มอัตราการใช้สมุนไพรในการป้องกันและรักษาโรค

มีครอบครัวต้นแบบในชุมชน

30.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
1 สื้่อประชาสัมพันธ์ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 1,440.00 0 0.00
18 พ.ย. 62 - 31 ธ.ค. 62 กิจกรรมสื่อประชาสัมพันธ์ 30 1,440.00 -
2 กิจกรรมครัวเรือนต้นแบบในการใช้สมุนไพรในการป้องกันดรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 4,500.00 0 0.00
10 ก.พ. 63 กิจกรรมครัวเรือนต้นแบบด้านการใช้สมุนไรในการป้องกันและรักษาโรคความดันและเบาหวาน 30 4,500.00 -
3 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรแก่คนในชุมชน และการดูแลสุขภาพด้วยพืชสมุนไพรใกล้ตัว กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 20,850.00 0 0.00
18 พ.ย. 62 - 31 ธ.ค. 62 1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรแก่คนในชุมชน และการดูแลสุขภาพด้วยพืชสมุนไพรใกล้ตัว 0 20,850.00 -

1.ขั้นเตรียมการ
1.1 สำรวจหาพื้นที่ และข้อมูลสมุนไพรในชุมชน
1.2 นำข้อมูลที่ได้มารวบรวม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผล
1.3 ทำจัดประชุมชี้แจง สมาชิกในชุมชน เพื่อวางแผนในการดำเนินงาน
1.4 นำเสนอรูปแบบโครงการเพื่อขอความเห็นชอบจากชุมชนเมืองใหม่6 นรินทร์ธร
1.5 จัดทำโครงการและนำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ
1.6 จัดเตรียมเอกสาร วัสดุอุปกรณ์ในการอบรม และสาธิตการปลูกพืชสมุนไพร
2.ขั้นดำเนินการ
2.1 ประชุมชี้แจง และประชาสัมพันธ์โครงการแก่คนในชุมชน
2.2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพืชสมุนไพรในด้านการป้องกันและรักษาโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไขมัน แก่คนในชุมชน และการดูแลสุขภาพด้วยพืชสมุนไพรใกล้ตัว สาธิตการปลูกพืชสมุนไพรในชุมชน
2.3 คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบจำนวน 30 ครัวเรือน และมอบเกียรติบัตร ให้แก่ครัวเรือนต้นแบบ
3.ติดตามประเมินผล
3.1 การดูแลสุขภาพและการใช้สมุนไพรในครัวเรือนโดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพ
3.2 สรุปโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีสวนสมุนไพรในชุมชน มีครัวเรือนต้นแบบ และคนในชุมชนสามารถนำสมุนไพรไปใช้ในการรักษาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ( เบาหวานความดันโลหิตสูง )

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 ต.ค. 2562 00:18 น.