กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการเยี่ยมบ้านด้วยคุณภาพ ปี 2563 ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์ไกรสร โตทับเที่ยง

ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมบ้านด้วยคุณภาพ ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2563-L6896-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยี่ยมบ้านด้วยคุณภาพ ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมบ้านด้วยคุณภาพ ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยี่ยมบ้านด้วยคุณภาพ ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2563-L6896-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 88,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ชุมชนในเขตเทศบาลนครตรัง มีผู้ป่วยเรื้อรังที่ต้องเยี่ยมบ้านโดยสหวิชาชีพ ในปี 2562 โดยมีค่าเฉลี่ยที่ 494 ราย มีผู้ป่วยดีขึ้นเปลี่ยนกลุ่ม 179 ราย คิดเป็นร้อยละ 36.23 ดีขึ้นจำหน่าย 192 รายคิดเป็นร้อยละ 38.87 รวมดีขึ้น 371 ราย คิดเป็นร้อยละ 75.10 ซึ่งผู้ป่วยแต่ละรายจะมีสภาพปัญหาที่แตกต่างกัน โดยแบ่งตามระดับความรุนแรงของผู้ป่วยและความต้องการ การช่วยเหลือที่บ้าน โดยมีทั้งผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนได้(กลุ่ม 1 ) จำนวน 145 ราย ช่วยตนเองได้เล็กน้อย(กลุ่ม 2) จำนวน 166 ราย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้และมีภาวะแทรกซ้อนที่จำเป็นต้องดูแลต่อเนื่องที่บ้าน(กลุ่ม 3) จำนวน 85ราย และผู้ป่วยที่ต้องได้รับการช่วยเหลือทำหัตถการทั้งสิ้น 108 ราย โดยแยกเป็น Nasogastric tube(NG) 32 ราย Foley’s cath 27 ราย Tracheostomy12 ราย แผล,Colostomy 2 ราย อื่นๆ 12 ราย และมีผู้พิการ 522 ราย แยกเป็นผู้พิการทางการมองเห็น ๒4 ราย ผู้พิการทางการได้ยิน/สื่อความหมาย 69 ราย ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว/ร่างกาย ๓22 ราย ผู้พิการทางจิตใจ/พฤติกรรม 36 ราย ออทิสติก 5 ราย ผู้พิการทางสติปัญญา 52 ราย ผู้พิการทางการเรียนรู้ 2 ราย ผู้พิการซ้ำซ้อน 12 ราย โดยผู้ดูแลบางส่วนยังขาดความรู้และทักษะ ในการดูแลตามสภาพผู้ป่วยในแต่ละราย เพื่อที่จะส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วย ฟื้นฟูสภาพและดูแลผู้ป่วยให้ใกล้เคียงกับสุขภาพร่างกายและไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ซับซ้อนมากขึ้น กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ จึงได้จัดทำ “ โครงการเยี่ยมบ้านด้วยคุณภาพ ปี 2563 ” ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ ได้รับการดูแลแบบองค์รวมและผู้ดูแลได้มีความรู้ที่ถูกต้อง เพื่อจะได้ฟื้นฟูสภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคที่ป่วยและสามารถกลับมาดำรงชีวิตได้ตามปกติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ แบบองค์รวมและเยี่ยมบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ
  2. เพื่อให้ผู้ป่วย Home Health Care และผู้พิการ ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์คุณภาพตามตัวชี้วัดของการเยี่ยมบ้านเพื่อให้ผู้ป่วย Home Health Care และผู้พิการ ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์คุณภาพตามตัวชี้วัดของการเยี่ยมบ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำแฟ้มประวัติเยี่ยมผู้ป่วยเยี่ยมบ้านและผู้พิการเพิ่มเติมในผู้ป่วยรายใหม่และแฟ้มเก่าที่ชำรุด
  2. การดูแล/ตรวจสุขภาพและเยี่ยมผู้พิการที่บ้าน
  3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายสุขภาพ
  4. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ ผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้พิการ/ผู้ดูแล/อสม. ที่มีหัตถการต่างๆ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วย Home Health Care / ผู้พิการ / ผู้ดูแล และอสม. ได้รับความรู้ในการดูแลตนเอง และผู้ป่วย อย่างถูกต้อง และได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องที่บ้าน มีฐานข้อมูลพร้อมรายละเอียดของผู้ป่วยที่เยี่ยมบ้าน พร้อมทั้งการดูแลเยี่ยมบ้านมีคุณภาพตามเกณฑ์ตัวชี้วัด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำแฟ้มประวัติเยี่ยมผู้ป่วยเยี่ยมบ้านและผู้พิการเพิ่มเติมในผู้ป่วยรายใหม่และแฟ้มเก่าที่ชำรุด

วันที่ 15 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ       ๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ ๒. ประชุมชี้แจงโครงการและกิจกรรมผู้ที่เกี่ยวข้อง ๓. เยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการโดยทีมสหวิชาชีพ
ขั้นดำเนินงาน ๑. สำรวจและจัดทำทะเบียนผู้ป่วย Home Health Care และผู้พิการ ในชุมชนทั้งรายเก่า/รายใหม่ ๒. จัดประชุมทีมงานสหวิชาชีพเพื่อการดูแลผู้ป่วย และผู้พิการรายกรณีอย่างถูกต้องและเหมาะสม ๓. จัดอบรมให้ความรู้ ผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้พิการ/ผู้ดูแล/อสม. ๔. กิจกรรมการดูแล/ตรวจสุขภาพและเยี่ยมผู้พิการที่บ้าน ๕. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายสุขภาพ ๖. ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้จัดทำแฟ้มประวัติผู้ป่วยเยี่ยมบ้านและผู้พิการเพิ่มเติม ในผู้ป่วยรายใหม่และแฟ้มเก่าที่ชำรุด

 

0 0

2. การดูแล/ตรวจสุขภาพและเยี่ยมผู้พิการที่บ้าน

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ       ๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ ๒. ประชุมชี้แจงโครงการและกิจกรรมผู้ที่เกี่ยวข้อง ๓. เยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการโดยทีมสหวิชาชีพ
ขั้นดำเนินงาน ๑. สำรวจและจัดทำทะเบียนผู้ป่วย Home Health Care และผู้พิการ ในชุมชนทั้งรายเก่า/รายใหม่ ๒. จัดประชุมทีมงานสหวิชาชีพเพื่อการดูแลผู้ป่วย และผู้พิการรายกรณีอย่างถูกต้องและเหมาะสม ๓. จัดอบรมให้ความรู้ ผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้พิการ/ผู้ดูแล/อสม. ๔. กิจกรรมการดูแล/ตรวจสุขภาพและเยี่ยมผู้พิการที่บ้าน ๕. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายสุขภาพ ๖. ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้จัดอบรมในความรู้ ผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้พิการ/ผู้ดูแล/อสม. ที่มีหัตถการต่างๆ โดยดำเนินการวันที่ 20 พฤศจิกายน 2562 เวลา 2.30-17.00 น. ครึ่งวัน ณ อาคารอเนกประสงค์เทศบาลนครตรัง มีผู้เข้าร่วมจำนวนทั้งสิ้น 120 คน

 

0 0

3. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายสุขภาพ

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ       ๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ ๒. ประชุมชี้แจงโครงการและกิจกรรมผู้ที่เกี่ยวข้อง ๓. เยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการโดยทีมสหวิชาชีพ
ขั้นดำเนินงาน ๑. สำรวจและจัดทำทะเบียนผู้ป่วย Home Health Care และผู้พิการ ในชุมชนทั้งรายเก่า/รายใหม่ ๒. จัดประชุมทีมงานสหวิชาชีพเพื่อการดูแลผู้ป่วย และผู้พิการรายกรณีอย่างถูกต้องและเหมาะสม ๓. จัดอบรมให้ความรู้ ผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้พิการ/ผู้ดูแล/อสม. ๔. กิจกรรมการดูแล/ตรวจสุขภาพและเยี่ยมผู้พิการที่บ้าน ๕. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายสุขภาพ ๖. ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ดำเนินกิจกรรมดูแล/ตรวจจสุขภาพผู้พิการที่บ้านดำเนินการทั้งปี ได้ดำเนินการไปทั้งสิ้น 486 คน

 

0 0

4. กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ ผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้พิการ/ผู้ดูแล/อสม. ที่มีหัตถการต่างๆ

วันที่ 25 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ       ๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ ๒. ประชุมชี้แจงโครงการและกิจกรรมผู้ที่เกี่ยวข้อง ๓. เยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการโดยทีมสหวิชาชีพ
ขั้นดำเนินงาน ๑. สำรวจและจัดทำทะเบียนผู้ป่วย Home Health Care และผู้พิการ ในชุมชนทั้งรายเก่า/รายใหม่ ๒. จัดประชุมทีมงานสหวิชาชีพเพื่อการดูแลผู้ป่วย และผู้พิการรายกรณีอย่างถูกต้องและเหมาะสม ๓. จัดอบรมให้ความรู้ ผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้พิการ/ผู้ดูแล/อสม. ๔. กิจกรรมการดูแล/ตรวจสุขภาพและเยี่ยมผู้พิการที่บ้าน ๕. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายสุขภาพ ๖. ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายสุขภาพ ได้ดำเนินการเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2563 เวลา 12.30 - 16.00 น. ครึ่งวัน ณ อาคารเอเนกประสงค์เทศบาลนครตรัง มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 180 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ แบบองค์รวมและเยี่ยมบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ
ตัวชี้วัด : -มีข้อมูลพื้นฐานผู้ป่วย Home Health Care พร้อมทั้งแยกระดับถูกต้องครบถ้วน -มีข้อมูลพื้นฐานผู้พิการ พร้อมทั้งแยกประเภทอย่างถูกต้อง
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วย Home Health Care และผู้พิการ ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์คุณภาพตามตัวชี้วัดของการเยี่ยมบ้านเพื่อให้ผู้ป่วย Home Health Care และผู้พิการ ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์คุณภาพตามตัวชี้วัดของการเยี่ยมบ้าน
ตัวชี้วัด : เกิดคุณภาพการเยี่ยมบ้านที่ได้ตามเกณฑ์ตัวชี้วัดดังต่อไปนี้ - ตัวชี้วัดที่ 1 อัตราความครอบคลุมการเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านมากกว่าร้อยละ 80 - ตัวชี้วัดที่ 2 อัตราผู้ป่วยส่งกลับจาก รพศ./รพท./รพช. ได้รับการเยี่ยมบ้านภายใน 14 วัน - ตัวชี้วัดที่ 3 จำนวนชั่วโมงการเยี่ยมบ้านของเจ้าหน้าที่ไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง/สัปดาห์/คน - ตัวชี้วัดที่ 4 อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยที่บ้านไม่เกินร้อยละ 5 - ตัวชี้วัดที่ 5 ผู้ป่วยได้รับการเยี่ยมบ้านสามารถควบคุมภาวะโรค/ดูแลตนเองได้ร้อยละ 70 - ตัวชี้วัดที่ 6 อัตราการส่งข้อมูลผู้ป่วยระดับ ๓ ถึงหน่วยบริการปลายทางภายใน 5 วัน - ตัวชี้วัดที่ 7 ความพึงพอใจของผู้รับบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ตัวชี้วัดที่ 8 ความพึงพอใจของทีมเยี่ยมบ้านไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 - ผู้พิการได้รับการดูแลเยี่ยมบ้านอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังและผู้พิการ  แบบองค์รวมและเยี่ยมบ้านโดยทีมสหวิชาชีพ (2) เพื่อให้ผู้ป่วย Home Health Care และผู้พิการ  ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์คุณภาพตามตัวชี้วัดของการเยี่ยมบ้านเพื่อให้ผู้ป่วย Home Health Care และผู้พิการ  ได้รับการดูแลส่งเสริมสุขภาพตามเกณฑ์คุณภาพตามตัวชี้วัดของการเยี่ยมบ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแฟ้มประวัติเยี่ยมผู้ป่วยเยี่ยมบ้านและผู้พิการเพิ่มเติมในผู้ป่วยรายใหม่และแฟ้มเก่าที่ชำรุด (2) การดูแล/ตรวจสุขภาพและเยี่ยมผู้พิการที่บ้าน (3) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายสุขภาพ (4) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ ผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้พิการ/ผู้ดูแล/อสม. ที่มีหัตถการต่างๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมบ้านด้วยคุณภาพ ปี 2563

รหัสโครงการ 2563-L6896-01-06 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเยี่ยมบ้านด้วยคุณภาพ ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2563-L6896-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแพทย์ไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด