กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง


“ โครงการทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2563 ”

ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายแพทย์ไกรสร โตทับเที่ยง

ชื่อโครงการ โครงการทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2563-L6896-01-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2563 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทับเที่ยง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2563-L6896-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 77,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากเป็นส่วนหนึ่งของการมีสุขภาพดี ช่วยเสริมคุณภาพชีวิต เพราะปัญหาสุขภาพช่องปากจะส่งผลต่อระบบอื่นๆของร่างกาย ซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้ทุกช่วงวัย ดังนั้น เราจึงจำเป็นต้องดูแลสุขภาพช่องปากให้สมบูรณ์ การพัฒนาระบบเฝ้าระวังฟันผุในชุมชน และสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัย จะช่วยลดอัตราการเกิดโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพดังนั้นเพื่อลดปัญหาการเกิดโรคในช่องปากตั้งแต่เนิ่นๆ จึงควรมีการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เพื่อมุ่งเน้นที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัย โดยเฉพาะพฤติกรรมการทำความสะอาดช่องปากและพฤติกรรมการบริโภค เพื่อช่วยกันเสริมสร้างสุขภาพช่องปากที่ดี       จากการดำเนินการตรวจสุขภาพในช่องปากปีงบประมาณ 2562 ได้ดำเนินการและมีผลการดำเนินงานใน 3 กลุ่มดังต่อไปนี้ - ผู้ป่วยในคลินิกเรื้อรัง(11 ชุมชน) ได้ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากไปทั้งสิ้น 368 คน พบว่า กลุ่มปกติ 42 คน คิดเป็นร้อยละ 11.41 กลุ่มเสี่ยงปานกลาง 205 คน คิดเป็นร้อยละ 55.71 กลุ่มเสี่ยงสูง 121 คน คิดเป็นร้อยละ 32.88 - มารดา – ทารกหลังคลอด( 11 ชุมชน) ได้ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากไปทั้งสิ้น 60 คน พบว่า มารดาหลังคลอด มีฟันผุ 39 คน คิดเป็นร้อยละ 65.00 มีหินปูน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 80.00 ทารกหลังคลอดมีคราบน้ำนม 42 คน คิดเป็นร้อยละ 70.00 - ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง 27 ชุมชน ได้ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากไปทั้งสิ้น 1,120 คน พบว่า กลุ่มปกติ 12 คน คิดเป็นร้อยละ 10.71 กลุ่มเสี่ยง 31 คน คิดเป็นร้อยละ 27.68 กลุ่มเสี่ยงสูง 69 คน คิดเป็นร้อยละ 61.61   กลุ่มงานการพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลตรัง จึงได้จัดทำ “โครงการทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2563” เนื่องด้วยผู้ป่วยควรได้รับการดูแลต่อเนื่อง โดยเริ่มจากการให้ความรู้ความเข้าใจถึง สาเหตุของการเกิดโรคในช่องปาก รู้จักวิธีการแก้ไข ป้องกันและการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง และของคนในครอบครัวได้ทุกช่วงวัยของชีวิตอย่างถูกต้องเหมาะสม เพื่อลดอัตราการเกิดโรคในช่องปาก และเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้องรังใน 11 ชุมชนได้รับการตรวจประเมินสภาวะในช่องปากครบทุกคน
  2. ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้องรังใน 11 ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธี
  3. เพื่อให้มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน ที่ได้รับการเยี่ยมบ้าน มีความรู้ มีความเข้าใจการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและทารกได้อย่างถูกต้อง
  4. เพื่อให้มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชนทุกรายได้รับการสาธิต/คำแนะนำในการฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก
  5. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงทุกคนในเขตเทศบาลนครตรังได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพช่องปากภายใน 1 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกเรื้องรังใน 11 ชุมชน
  2. กิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน
  3. กิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกเรื้องรังใน 11 ชุมชน ได้รับการตรวจประเมินสภาวะในช่องปากครบทุกคน
  2. ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกเรื้องรังใน 11 ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธี
  3. มารดา – ทารกหลังคลอดใน ชุมชน ที่พบทุกรายได้รับการเยี่ยมบ้านมีความรู้/มีความเข้าใจการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและของทารกหลังคลอดได้ ระดับมากคิดเป็นร้อยละ 85
  4. มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน ที่พบทุกรายได้รับการสาธิต/คำแนะนำในการฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก คิดเป็นร้อยละ 100
  5. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงทุกคนในเขตเทศบาลนครตรัง ได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพช่องปากภายใน 1 ปี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1.ชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องให้ทราบวัตถุประสงค์ของการดำเนินโครงการ 2.นำข้อมูลผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชนในปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนดำเนินงาน 3.นำข้อมูลมารดาและทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน ในปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อใช้เป็นข้อมูลการวางแผนดำเนินงาน 4.นำข้อมูลผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง ในปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนดำเนินงาน 5.จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีให้แก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง 6.จัดหาอุปกรณ์ในการสาธิตและฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากทั้งของผู้ที่ป่วยที่รับยาใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง 7.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติโครงการ ขั้นดำเนินงาน 1.สำรวจข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์เทศบาลนครตรัง/ได้รับแจ้งข้อมูลจากโรงพยาบาลตรัง และอสม. สำรวจพบผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชนและผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบสลนครตรัง 2.รวบรวมจำนวนผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง ในเขตเทศบาลนครตรังในพื้นที่รับผิดชอบจากข้อมูลที่ได้รับเพื่อให้บริการส่งเสริมทันตสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย 3.บริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชนทุก 2 เดือน 4.บริการทันตสุขภาพแก่มารดา-ทารกตั้งแต่แรกเกิด-6สัปดาห์ที่บ้านในเขตรับผิดชอบจำนวน 11 ชุมชน 5.บริการทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรังที่บ้านทุก 4-8 สัปดาห์ 6.ขณะให้บริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชนและผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง ซักถามประวัติทั่วไป วัดความดันโลหิต ตรวจประเมินสภาวะช่องปาก สอบถามวิธีการปฏิบัติดูแลสุขภาพช่องปากของตนและทารกหลังคลอดพร้อมทั้งให้ความรู้และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปากสาธิตและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากแก่มารดา/ผู้ดูแลเด็ก/ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน/ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง บันทึกตามแบบบันทึก 7.มอบชุดสาธิตการทำความสะอาดช่องปากแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรังเพื่อนำไปใช้ฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและทารกได้อย่างถูกต้อง 8.เก็บรวบรวมข้อมูล 9.สรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ดำเนินการให้ความรู้และสอนสาธิตฝึกปฏิบัติการแปรงฟัน/การดูแลความสะอาดในช่องปากพร้อมทั้งแจกชุดอุปกรณ์และสื่อให้ความรู้เรื่อการดูแลสุขภาพช่องปาก แก่มารดาหลังคลอด

 

0 0

2. กิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1.ชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องให้ทราบวัตถุประสงค์ของการดำเนินโครงการ 2.นำข้อมูลผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชนในปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนดำเนินงาน 3.นำข้อมูลมารดาและทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน ในปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อใช้เป็นข้อมูลการวางแผนดำเนินงาน 4.นำข้อมูลผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง ในปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนดำเนินงาน 5.จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีให้แก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง 6.จัดหาอุปกรณ์ในการสาธิตและฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากทั้งของผู้ที่ป่วยที่รับยาใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง 7.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติโครงการ ขั้นดำเนินงาน 1.สำรวจข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์เทศบาลนครตรัง/ได้รับแจ้งข้อมูลจากโรงพยาบาลตรัง และอสม. สำรวจพบผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชนและผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบสลนครตรัง 2.รวบรวมจำนวนผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง ในเขตเทศบาลนครตรังในพื้นที่รับผิดชอบจากข้อมูลที่ได้รับเพื่อให้บริการส่งเสริมทันตสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย 3.บริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชนทุก 2 เดือน 4.บริการทันตสุขภาพแก่มารดา-ทารกตั้งแต่แรกเกิด-6สัปดาห์ที่บ้านในเขตรับผิดชอบจำนวน 11 ชุมชน 5.บริการทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรังที่บ้านทุก 4-8 สัปดาห์ 6.ขณะให้บริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชนและผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง ซักถามประวัติทั่วไป วัดความดันโลหิต ตรวจประเมินสภาวะช่องปาก สอบถามวิธีการปฏิบัติดูแลสุขภาพช่องปากของตนและทารกหลังคลอดพร้อมทั้งให้ความรู้และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปากสาธิตและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากแก่มารดา/ผู้ดูแลเด็ก/ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน/ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง บันทึกตามแบบบันทึก 7.มอบชุดสาธิตการทำความสะอาดช่องปากแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรังเพื่อนำไปใช้ฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและทารกได้อย่างถูกต้อง 8.เก็บรวบรวมข้อมูล 9.สรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้ดำเนินการให้ความรู้และสอนสาธิตฝึกปฏิบัติการแปรงฟัน/การดูแลความสะอาดในช่องปากพร้อมทั้งแจกชุดอุปกรณ์และสื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง

 

0 0

3. กิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกเรื้องรังใน 11 ชุมชน

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1.ชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องให้ทราบวัตถุประสงค์ของการดำเนินโครงการ 2.นำข้อมูลผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชนในปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนดำเนินงาน 3.นำข้อมูลมารดาและทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน ในปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อใช้เป็นข้อมูลการวางแผนดำเนินงาน 4.นำข้อมูลผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง ในปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนดำเนินงาน 5.จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดีให้แก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง 6.จัดหาอุปกรณ์ในการสาธิตและฝึกทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากทั้งของผู้ที่ป่วยที่รับยาใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง 7.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติโครงการ ขั้นดำเนินงาน 1.สำรวจข้อมูลจากทะเบียนราษฎร์เทศบาลนครตรัง/ได้รับแจ้งข้อมูลจากโรงพยาบาลตรัง และอสม. สำรวจพบผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชนและผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบสลนครตรัง 2.รวบรวมจำนวนผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง ในเขตเทศบาลนครตรังในพื้นที่รับผิดชอบจากข้อมูลที่ได้รับเพื่อให้บริการส่งเสริมทันตสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย 3.บริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชนทุก 2 เดือน 4.บริการทันตสุขภาพแก่มารดา-ทารกตั้งแต่แรกเกิด-6สัปดาห์ที่บ้านในเขตรับผิดชอบจำนวน 11 ชุมชน 5.บริการทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรังที่บ้านทุก 4-8 สัปดาห์ 6.ขณะให้บริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชนและผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง ซักถามประวัติทั่วไป วัดความดันโลหิต ตรวจประเมินสภาวะช่องปาก สอบถามวิธีการปฏิบัติดูแลสุขภาพช่องปากของตนและทารกหลังคลอดพร้อมทั้งให้ความรู้และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพช่องปากสาธิตและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากแก่มารดา/ผู้ดูแลเด็ก/ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกโรคเรื้อรังใน 11 ชุมชน/ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง บันทึกตามแบบบันทึก 7.มอบชุดสาธิตการทำความสะอาดช่องปากแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลีนิกเรื้อรังใน 11 ชุมชน/มารดาหลังคลอดและทารกใน 11 ชุมชน และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรังเพื่อนำไปใช้ฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและทารกได้อย่างถูกต้อง 8.เก็บรวบรวมข้อมูล 9.สรุปโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ดำเนินการให้ความรู้และสอน สาธิตฝึกปฏิบัติการแปรงฟัน/การดูแลความสะอาดในช่องปากพร้อมทั้งแจกชุดอุปกรณ์สาธิตและสื่อให้ความรู้เรื่องดูแลสุขภาพช่องปากผู้ป่วยเรื้อรังใน 11 ชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้องรังใน 11 ชุมชนได้รับการตรวจประเมินสภาวะในช่องปากครบทุกคน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้องรังใน 11 ชุมชน รับทราบถึงสภาวะในช่องปากของตนเอง
0.00

 

2 ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้องรังใน 11 ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้องรังใน 11 ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธีเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน ที่ได้รับการเยี่ยมบ้าน มีความรู้ มีความเข้าใจการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและทารกได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน ที่ได้รับการเยี่ยมบ้าน มีความรู้ มีความเข้าใจสามารถนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและของทารกได้มากขึ้น ร้อยละ 85
0.00

 

4 เพื่อให้มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชนทุกรายได้รับการสาธิต/คำแนะนำในการฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชนได้รับการเยี่ยมโดยทันตาภิบาล
0.00

 

5 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงทุกคนในเขตเทศบาลนครตรังได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพช่องปากภายใน 1 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิง ในเขตเทศบาลนครตรังได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพช่องปากภายใน 1 ปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้องรังใน 11 ชุมชนได้รับการตรวจประเมินสภาวะในช่องปากครบทุกคน (2) ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกโรคเรื้องรังใน 11 ชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองอย่างถูกวิธี (3) เพื่อให้มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน ที่ได้รับการเยี่ยมบ้าน มีความรู้ มีความเข้าใจการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและทารกได้อย่างถูกต้อง (4) เพื่อให้มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชนทุกรายได้รับการสาธิต/คำแนะนำในการฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปาก (5) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงทุกคนในเขตเทศบาลนครตรังได้รับการดูแลส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพช่องปากภายใน 1 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่รับยาในคลินิกเรื้องรังใน 11 ชุมชน (2) กิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่มารดา – ทารกหลังคลอดใน 11 ชุมชน (3) กิจกรรมบริการทันตสุขภาพแก่ผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครตรัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2563

รหัสโครงการ 2563-L6896-01-07 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการทันตสาธารณสุขในชุมชน เขตเทศบาลนครตรัง ปี 2563 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2563-L6896-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแพทย์ไกรสร โตทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด