กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี 2562 ”
ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอสือเมาะ ลอแม




ชื่อโครงการ โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี 2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าสาป อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบลเทศบาลตำบลท่าสาป เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเสียชีวิตจากการตกน้ำ จมน้ำ ของเด็กมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2542 – 2548 และเริ่มลดลงตั้งแต่ปลายปี 2549 หลังจากกรมควบคุมโรคและภาคีเครือข่ายเริ่มดำเนินการป้องกัน อย่างไรก็ตามแม้ว่าจำนวนการจมน้ำจะลดลงแต่ยังคงลดลงอย่างช้าๆ โดยเฉพาะช่วงเด็ก 5 – 14 ปี พบว่าลดลงน้อยมาก ทั้งนี้หากยังเป็นเช่นนี้ต่อไปในอีก ๑๐ ปี ข้างหน้า ประเทศไทยจะยังคงสูญเสียเด็กไปอีกเกือบ 13,000 คน จากสาเหตุการจมน้ำ ซึ่งเป็นสาเหตุที่สามารถป้องกันได้และกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี เป็นตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2558 เป็นต้นมา ในปีงบประมาณ 2559 ได้กำหนดเป้าหมายลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรเด็กแสนคนระดับเขตบริการสุขภาพ ที่ 12 ได้กำหนดเป้าหมายดำเนินงาน พ.ศ.2560 อัตราตายต่อประชากรเด็กแสนคน ไม่เกิน 5.1 ต่อประชากรเด็กแสนคน ซึ่งในปี 2560 ได้กำหนดเป้าหมายเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำไม่เกิน 6 รายอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี เท่ากับ 6.2 ต่อประชากรเด็กแสนคน ตำบลท่าสาป ตั้งแต่ปี 2557 – 28 กุมภาพันธ์ 2562 มีเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ ปจำนวน 4 ราย ประกอบกับรัฐบาลมีข้อเสนอเชิงนโยบายที่สำคัญ 3 ประเด็น สำหรับการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ1.) ควรให้เด็กทุกคนที่มีอายุตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป ได้เรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (ความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำการเอาชีวิตรอด และวิธีการช่วยเหลือ) เป็นหลักสูตรภาคบังคับสำหรับเด็ก 2.) ควรออกกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ สำหรับท้องถิ่นในการขุดแหล่งน้ำเพื่อใช้ประโยชน์ในพื้นที่ ต้องมีมาตรการในการป้องกันเพื่อไม่ให้แหล่งน้ำดังกล่าวกลายเป็นแหล่งน้ำสี่ยงของชุมชน เช่นเดียวกับแหล่งน้ำที่จัดให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยว (น้ำตก ทะเล อ่างเก็บน้ำ สวนน้ำ) และสระว่ายน้ำ จำเป็นต้องกำหนดให้มีมาตรการความปลอดภัย เช่น การมีเจ้าหน้าที่ (Lifeguard) ดูแล การมีกฎระเบียบให้ผู้มารับบริการทุกคนต้องสวมเสื้อชูชีพทุกครั้งที่เดินทางหรือทำกิจกรรมทางน้ำ การมีอุปกรณ์ช่วยคนตกน้ำติดตั้งไว้เป็นระยะและสามารถเข้าถึงได้ง่าย การมีป้าย/ธงแจ้งเตือน (ห้ามลงเล่นน้ำ น้ำลึก น้ำวน) ป้ายบอกระดับความลึกของน้ำ 3.บูรณาการการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำของหน่วยงานและภาคส่วนต่างๆ ครอบคลุมทุกมาตรการในระดับพื้นที่ และเน้นการใช้ทรัพยากรร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้และเสริมทักษะการเอาชีวิตรอดทางน้ำ
  2. ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้และประสบการณ์ สามารถช่วยตนเองและผู้ประสบภัยให้รอดจากการจมน้ำ
  3. เพื่อเป็นการป้องกันและลดความสูญเสียต่อชีวิต
  4. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีและความมีน้ำใจต่อกันนระหว่างงหน่วยงานภาครัฐและประชาชน
  5. เพื่อให้สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน์สูงสุด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะการเอาชีวิตรอด ให้กับเด็กและเยาวชนตำบลท่าสาป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้และเสริมทักษะการเอาชีวิตรอดทางน้ำ
ตัวชี้วัด : 1.เด็กและเยาวชนมีความรู้และมีทักษะการเอาชีวิตรอดทางน้ำ
1.00

 

2 ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้และประสบการณ์ สามารถช่วยตนเองและผู้ประสบภัยให้รอดจากการจมน้ำ
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีทักษะสามารถช่วยตนเองและผู้ประสบภัยให้รอดพ้นจากน้ำ
1.00

 

3 เพื่อเป็นการป้องกันและลดความสูญเสียต่อชีวิต
ตัวชี้วัด : ไม่มีอุบัติการณ์เสียชีวิตจากการจมน้ำใรเด็กต่ำกว่า 15 ปี
1.00

 

4 เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีและความมีน้ำใจต่อกันนระหว่างงหน่วยงานภาครัฐและประชาชน
ตัวชี้วัด : หน่วยงานภาครัฐและประชาชนมีความร่วมมือกัน
1.00

 

5 เพื่อให้สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน์สูงสุด
ตัวชี้วัด : กลุ่มเยาวชนสามารถถ่ายทอดความรู้ไปยังรุ่นต่อๆไปได้
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ความรู้และเสริมทักษะการเอาชีวิตรอดทางน้ำ (2) ข้อที่ 2.เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้และประสบการณ์ สามารถช่วยตนเองและผู้ประสบภัยให้รอดจากการจมน้ำ (3) เพื่อเป็นการป้องกันและลดความสูญเสียต่อชีวิต (4) เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีและความมีน้ำใจต่อกันนระหว่างงหน่วยงานภาครัฐและประชาชน (5) เพื่อให้สามารถนำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน์สูงสุด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะการเอาชีวิตรอด ให้กับเด็กและเยาวชนตำบลท่าสาป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัคซีนป้องกันเด็กจมน้ำ ปี 2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรอสือเมาะ ลอแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด