โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) ”
ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลชะมวง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง
พฤษภาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver)
ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-03-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปรากฏอยู่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. ๒๕๔๒ ในการจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ ๒ (๒๕๔๔- ๒๕๖๔) และยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุข ครอบคลุม ๔ มิติ(มิติสุขภาพ มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม และมิติที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม) รวมถึงสร้างความเข้มแข็งการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย ประกอบกับ เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๐ คณะรัฐมนตรี มีมติด้านการคุ้มครองสถานภาพผู้สูงอายุ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรหลักในการดำเนินงานร่วมกับภาครัฐ ภาคประชาชนในท้องถิ่น โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้สูงอายุที่ประสบความทุกข์ยากเดือดร้อนได้รับการดูแล
จากการสำรวจภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลชะมวง พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้นคน เมื่อแบ่งตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันดัชนีบาร์เธอเอดีแอล(Barthel ADL Index) ในผู้สูงอายุ จำนวน 1,353 คน พบว่าเป็นผู้สูงอายุกลุ่ม 1 พึ่งตนเองได้ (คะแนน ADL ตั้งแต่ 12 ขึ้นไป) จำนวน 1,300 คนผู้สูงอายุกลุ่ม ๒ พึ่งตนเองได้ (คะแนน ADL อยู่ในช่วง ๕-๑๑) จำนวน44 คนผู้สูงอายุกลุ่ม ๓ พึ่งตนเองไม่ได้ (คะแนน ADL อยู่ในช่วง ๐-๔ ) จำนวน9คนประกอบกับ ตำบลชะมวงได้รับการคัดเลือกเป็นตำบลนำร่องด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ( Long term care)เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง คือ Care giver 1คนดูแลผู้สูงอายุจำนวน5 คนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุชะมวง จึงมีความจำเป็นต้องอบรม Care giver เพิ่มจากที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช.เพื่อให้มี ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
- เพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
11
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุ ในชุมชนให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบมรมภาคทฤษฎีและฝึกปฏิบัติในโรงพยาบาลควนขนุน
วันที่ 24 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง สามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิงได้ถูกต้อง
11
11
2. ฝึกปฏิบัติจริงในชุมชน
วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ลงฝึกปฏิบัติจริงในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในโรงพยาบาลควนขนุน
11
11
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในเรื่องการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกปฏิบัติจริงในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่โรงพยาบาลควนขนุน
รายละเอียดค่าใช้จ่าย
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มอบรมภาคทฤษฎี และภาคฝึกปฏิบัติในโรงพยาบาล จำนวน 11 คนๆ ละ 20 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 2,200 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มฝึกปฏิบัติจริงในชุมชน จำนวน 11 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 2,750 บาท
3.ค่าอาหารกลางวัน วันอบรมภาคทฤษฎี และภาคฝึกปฏิบัติในโรงพยาบาล จำนวน 11 คนๆ ละ 50 บาท จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 2,750 บาท
4.ค่าอาหารกลางวันภาคฝึกปฏิบัติในชุมชน จำนวน 11 คนๆ ละ 50 บาท จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 2,750 บาท
5.ค่าวิทยากร ภาคทฤษฎี จำนวน 3 วัน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท ภาคปฏิบัติในชุมชน จำนวน 5วัน เหมาจ่ายวันละ 900 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท รวมเป็นเงิน 6,300 บาท
6.ค่าเอกสารใช้ในการอบรม จำนวน 11 ชุด ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 1,320 บาท
รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 18,070 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : ดูแลผู้สูงอายุให้มีศักยภาพที่ดีขึ้น
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
11
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
11
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ประธานศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลชะมวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) ”
ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
ประธานศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลชะมวง
พฤษภาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-03-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชะมวง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-50105-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชะมวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปรากฏอยู่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. ๒๕๔๒ ในการจัดสวัสดิการแก่ผู้สูงอายุ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ ๒ (๒๕๔๔- ๒๕๖๔) และยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุข ครอบคลุม ๔ มิติ(มิติสุขภาพ มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม และมิติที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม) รวมถึงสร้างความเข้มแข็งการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย ประกอบกับ เมื่อวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๐ คณะรัฐมนตรี มีมติด้านการคุ้มครองสถานภาพผู้สูงอายุ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรหลักในการดำเนินงานร่วมกับภาครัฐ ภาคประชาชนในท้องถิ่น โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้สูงอายุที่ประสบความทุกข์ยากเดือดร้อนได้รับการดูแล จากการสำรวจภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลชะมวง พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้นคน เมื่อแบ่งตามกลุ่มศักยภาพตามความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันดัชนีบาร์เธอเอดีแอล(Barthel ADL Index) ในผู้สูงอายุ จำนวน 1,353 คน พบว่าเป็นผู้สูงอายุกลุ่ม 1 พึ่งตนเองได้ (คะแนน ADL ตั้งแต่ 12 ขึ้นไป) จำนวน 1,300 คนผู้สูงอายุกลุ่ม ๒ พึ่งตนเองได้ (คะแนน ADL อยู่ในช่วง ๕-๑๑) จำนวน44 คนผู้สูงอายุกลุ่ม ๓ พึ่งตนเองไม่ได้ (คะแนน ADL อยู่ในช่วง ๐-๔ ) จำนวน9คนประกอบกับ ตำบลชะมวงได้รับการคัดเลือกเป็นตำบลนำร่องด้านการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ( Long term care)เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง คือ Care giver 1คนดูแลผู้สูงอายุจำนวน5 คนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุชะมวง จึงมีความจำเป็นต้องอบรม Care giver เพิ่มจากที่ได้รับจัดสรรจาก สปสช.เพื่อให้มี ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
- เพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 11 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุ ในชุมชนให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบมรมภาคทฤษฎีและฝึกปฏิบัติในโรงพยาบาลควนขนุน |
||
วันที่ 24 เมษายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง สามารถดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิงได้ถูกต้อง
|
11 | 11 |
2. ฝึกปฏิบัติจริงในชุมชน |
||
วันที่ 8 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ลงฝึกปฏิบัติจริงในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในโรงพยาบาลควนขนุน
|
11 | 11 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในเรื่องการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ผู้เข้ารับการอบรมได้ฝึกปฏิบัติจริงในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่โรงพยาบาลควนขนุน รายละเอียดค่าใช้จ่าย 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มอบรมภาคทฤษฎี และภาคฝึกปฏิบัติในโรงพยาบาล จำนวน 11 คนๆ ละ 20 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 2,200 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มฝึกปฏิบัติจริงในชุมชน จำนวน 11 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 2,750 บาท 3.ค่าอาหารกลางวัน วันอบรมภาคทฤษฎี และภาคฝึกปฏิบัติในโรงพยาบาล จำนวน 11 คนๆ ละ 50 บาท จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 2,750 บาท 4.ค่าอาหารกลางวันภาคฝึกปฏิบัติในชุมชน จำนวน 11 คนๆ ละ 50 บาท จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 2,750 บาท 5.ค่าวิทยากร ภาคทฤษฎี จำนวน 3 วัน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท ภาคปฏิบัติในชุมชน จำนวน 5วัน เหมาจ่ายวันละ 900 บาท เป็นเงิน 4,500 บาท รวมเป็นเงิน 6,300 บาท 6.ค่าเอกสารใช้ในการอบรม จำนวน 11 ชุด ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 1,320 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 18,070 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ตัวชี้วัด : ดูแลผู้สูงอายุให้มีศักยภาพที่ดีขึ้น |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 11 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 11 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) มีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุ (Care giver) จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 60-50105-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ประธานศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการตำบลชะมวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......