กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการ ชุมชนร่วมคุ้มครองผู้บริโภค ประชาชนผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีซัน สุหลง

ชื่อโครงการ โครงการ ชุมชนร่วมคุ้มครองผู้บริโภค ประชาชนผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63 - L2479 - 1 - 01 เลขที่ข้อตกลง 03/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ชุมชนร่วมคุ้มครองผู้บริโภค ประชาชนผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ชุมชนร่วมคุ้มครองผู้บริโภค ประชาชนผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ชุมชนร่วมคุ้มครองผู้บริโภค ประชาชนผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63 - L2479 - 1 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,390.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 300 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ เนื่องด้วยพบความไม่ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่พบได้มากขึ้นและมีแนวโน้มทวีความรุนแรงขึ้นทั้งด้านปริมาณและผลกระทบต่อสุขภาพ เนื่องจากเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยมีความซับซ้อนสูง เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ที่พัฒนาโดยใช้นวัตกรรมใหม่มากขึ้น ปัญหาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ผลิตภัณฑ์จากชุมชน ที่บางส่วนยังมีปัญหาเรื่องคุณภาพและมาตรฐานการผลิตปัญหาอันตรายจากสารเคมี สิ่งปนเปื้อนที่เพิ่มขึ้น ทำให้การบริโภคมีความเสี่ยงมากขึ้น ปัญหาผลิตภัณฑ์คาบเกี่ยวมีมากขึ้น เช่น เวชสำอาง อาหารที่อ้างสรรพคุณเพื่อการบำบัดรักษาโรค ปัญหาการเพิ่มขึ้นผลิตภัณฑ์สุขภาพ เช่น อาหารเสริมต่างๆ ซึ่งยังคงต้องร่วมกันเฝ้าระวัง รวมทั้งปัญหาการโฆษณาและส่งเสริมการขายผ่านสื่อทันสมัย รวดเร็วมากขึ้น และรวมทั้งพบว่าในหมู่บ้าน ยังพบว่ามีร้านค้าในชุมชน หรือรถเร่นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ไม่มีฉลากภาษาไทยมาจำหน่ายแก่ชาวบ้าน ประกอบกับในปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพเกินจริง ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภค อาจตกเป็นเหยื่อหรือเกิดอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาดังกล่าว ดังนั้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนตำบลบูกิต บุคลากรเจ้าหน้าที่ควรมีศักยภาพและทักษะการปฏิบัติงานที่เหมาะสมก็จะทำให้ดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพในระดับพื้นที่มีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์สุขภาพในท้องตลาดมีความปลอดภัยวัตถุประสงค์ และเพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังร้านชำขายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน ฯลฯและทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของประชาชนในชุมชน เพื่อให้ชุมชนปลอดภัยจากบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มพูนความรู้กับผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และผู้บริโภคในการเข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
  2. เพื่อการดำเนินการตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  3. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมตรวจประเมินร้านชำคุณภาพ
  2. กิจกรรมประชุมทีมเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุข (คบส.)
  3. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ เพื่อพัฒนาร้านชำคุณภาพ
  4. กิจกรรม พัฒนา เฝ้าระวัง และแก้ไขคุณภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน
  5. กิจกรรมร้านชำปราศจากยาชุด/ครีม สเตียรอยด์(steroid)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มผู้ประกอบการร้านชำ 60
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในเขตพื้นที่เป้าหมายได้บริโภคอาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย 2.ประชาชนมีความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ เพื่อพัฒนาร้านชำคุณภาพ

วันที่ 2 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบงานประจำ รพสต.เพื่อร่วมวิเคราะห์และวางแผนการดำเนินงานโครงการฯ 2.จัดประชุมผู้ประกอบการร้านชำที่มีอยู่ในพื้นที่ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส 3.กิจกรรมfocus group เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าใจเนื้อหาและสามารถนำไปใช้ได้จริง 4.ชี้แจงการสุ่มตัวอย่างอาหารและยาพื่อตรวจสารปนเปื้อนอันตรายที่อาจพบในอาหารและยา 5.วางแผนลงตรวจประเมินร้านชำคุณภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ร้อยละ 90 ผู้ประกอบการร้านชำในตำบลบูกิต มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้จริงในการดำเนินการเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในพื้นที่ 2.เกิดแผนการดำเนินการสุ่มตรวจร้านชำคุณภาพภายในเดือนสิงหาคม 2563

 

60 0

2. กิจกรรม พัฒนา เฝ้าระวัง และแก้ไขคุณภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน

วันที่ 6 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภคประจำรพสต.ในตำบลบูกิต 2.updaet ฐานข้อมูลร้านชำ ร้านแผงลอย ที่จำหน่ายอาหาร 3.ลงพื้นที่สุ่มตรวจตัวอย่างหารจากร้านที่จำหน่ายอาหาร ตามชุดทดสอบที่มีอยู่ ได้แก่ 3.1 ทดสอบสารฟอกขาว จำนวน 100 ตัวอย่าง         3.2 ทดสอบสารกันรา  จำนวน 50 ตัวอย่าง         3.3 ทดสอบสารบอแรกซ์ จำนวน 50 ตัวอย่าง         3.4 ทดสอบน้ำมันทอดซ้ำ จำนวน 25 ตัวอย่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.

 

60 0

3. กิจกรรมร้านชำปราศจากยาชุด/ครีม สเตียรอยด์(steroid)

วันที่ 6 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมผู้รับผิดชอบงานคุ้มครองผู้บริโภคประจำรพสต.ในตำบลบูกิต 2.update ฐานข้อมูลร้านชำ
3.ลงพื้นที่สุ่มตรวจตัวอย่างยาและเครื่องสำอางที่มีจำหน่ายในร้านชำ ตามชุดทดสอบที่มีอยู่ ได้แก่ 3.1 ทดสอบสเตียรอยด์ในยาแผนโบราณ จำนวน 20 ตัวอย่าง         3.2 ทดสอบสเตียรอยด์ในเครื่องสำอาง  จำนวน 20 ตัวอย่าง         3.3 ทดสอบสารไฮโดรควิโนน จำนวน 20 ตัวอย่าง         3.4 ทดสอบกรดวิตามินเอ (เรทิโนอิก) จำนวน 25 ตัวอย่าง         3.5 ทดสอบสารปรอทในเครื่องสำอาง จำนวน 10 ตัวอย่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จากการทดสอบ

 

60 0

4. กิจกรรมประชุมตรวจประเมินร้านชำคุณภาพ

วันที่ 24 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • กิจกรรมตรวจร้านชำตามเกณฑ์มาตรฐานร้านชำคุณภาพ
  • สุ่มตรวจอาหารแผงลอยจำหน่ายอาหาร
  • สุ่มตรวจสารอันตรายในเครื่องสำอาง
  • สุ่มตรวจสารอันตรายในยาชุด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ตรวจร้านชำจำนวน 40 ร้าน พบร้านชำผ่านมาตรฐานได้คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป จำนวน 25 ร้าน (พบร้านที่ต้องปรับปรุงแก้ไขจำนวน 15 ร้าน
  • วางแผนการดำเนินงานปรับปรุงแก้ไขในร้านชำที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
  • ผลการสุ่มตรวจสารอันตราย พบมีการจำหน่าย เตรื่องสำอางที่มีสารอันตรายห้ามใช้ จำนวน 5 รายการ
  • ผลการสุ่่มตรวจยาชุด พบมีการจำหน่ายยาชุด มีการผสมยาผิดวิธีผิดขนาด จำนวน 1 รายการ (ยาตียา) กำลังดำเนินงานติดตาม

 

7 0

5. กิจกรรมประชุมทีมเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุข (คบส.)

วันที่ 27 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  • จัดประชุมทีมเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค(คบส.) ในพื้นที่ตำบลบูกิต ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ,อาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ ,ตัวแทนกลุ่มอย.น้อย , ตัวแทนกลุ่มสตรี , ตัวแทนผู้ประกอบการร้านชำ
  • ประชุมคืนข้อมูลร่วมกัน และร่วมกันสรุปวิเคราะห์ผล และวางแผนดำเนินงานเพื่อแก้ปัญหาและปรับปรุงร้านชำให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ 100

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผลจากการสุ่มตรวจประเมินร้านชำจำนวน 40 ร้าน พบมีร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐานคิดเป็นร้อยละ 62.5

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การดำเนินงานโครงการ ได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ทุกข้อ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้กับผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และผู้บริโภคในการเข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้านชำผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ ร้อยละ 80
0.00 80.00 80.00

 

2 เพื่อการดำเนินการตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : อาหารและเครื่องสำอางที่มีจำหน่ายในชุมชน ปราศจากสารพิษและสารเคมีอันตราย ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

3 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน
ตัวชี้วัด : เครือข่ายคุ้มครองผู้บรโภคด้านสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มผู้ประกอบการร้านชำ 60 60
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข 40 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มพูนความรู้กับผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และผู้บริโภคในการเข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ถูกต้อง (2) เพื่อการดำเนินการตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์สุขภาพ (3) เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมตรวจประเมินร้านชำคุณภาพ (2) กิจกรรมประชุมทีมเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุข (คบส.) (3) กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านชำ เพื่อพัฒนาร้านชำคุณภาพ (4) กิจกรรม พัฒนา เฝ้าระวัง และแก้ไขคุณภาพผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน (5) กิจกรรมร้านชำปราศจากยาชุด/ครีม สเตียรอยด์(steroid)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ชุมชนร่วมคุ้มครองผู้บริโภค ประชาชนผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63 - L2479 - 1 - 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีซัน สุหลง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด