กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โรงเรียนบ้านปาดังยอ กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 66 คน (ครั้งที่ 1 วันที่ 23 ธันวาคม 2563) ได้มีการกำจัดทั้งหมด 66 คน คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี และหลังจากที่หมักยาสมุนไพรกำจัดเหา 1 ชั่วโมง ได้มีการล้างศีรษะและแชมพู และใช้หวีเสนียดหวีเหาเพื่อกำจัดเหาบนหนังศีรษะ และนัดติดตามพร้อมกำจัดเหาครั้งที่ 2 ในวันที่ 11 มกราคม 2564 แลได้มีการให้ความรู้กับผู้ปกครอง คุรครู เกี่ยวกับการทำน้ำยาสมุนไพรกำจัดเหาเพื่อใช้เองที่บ้าน และสอนวิธีการกำจัดเหาที่ถูกวิธี การดูแลความสะอาดของหนังศีรษะ กำจัดเหาครั้งที่ 2 (วันที่ 11 มกราคม 2564) ได้มีการกำจัดทั้งหมด 66 คน คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี และพบว่ากลุ่มเป้าหมายมีจำนวนเหาลดลงจากเดิม บางคนมีแต่ไข่เหาที่ตายแล้ว ซึ่งพบว่ามีนักเรียนที่ยังมีเหาเยอะ จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 18.18 และเหาลดลงจำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 81.82 โรงเรียนบ้านปูโป๊ะ กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 96 คน (ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ธันวาคม 2563)
ได้มีการกำจัดทั้งหมด 96 คน คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี และหลังจากที่หมักยาสมุนไพรกำจัดเหา 1 ชั่วโมง ได้มีการล้างศีรษะและแชมพู และใช้หวีเสนียตหวีเหาเพื่อกำจัดเหาบนหนังศีรษะ และนัดติดตามพร้อมกำจัดเหาครั้งที่ 2 ในวันที่ 13 มกราคม 2564 และได้มีการให้ความรู้กับผู้ปกครอง คุณครู เกี่ยวกับการทำน้ำยาสมุนไพรกำจัดเหาเพื่อใช้เองที่บ้าน และสอนวิะีการกำจัดเหาที่ถูกวิะี การดูแลความสะอาดของหนังศีรษะ กำจัดเหาครั้งที่ 2 (วันที่ 13 มกราคม 2564) ได้มีการกำจัดทั้งหมด 96 คน คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี และพบว่ากลุ่มเป้าหมายมีจำนวนเหาลดลงจากเดิม บางคนมีแต่ไข่เห่าที่ตายแล้ว ซึ่งพบว่ามีนักเรียนที่ยังมีเหาเยอะจำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 20.83 และเหาลดลงจำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 79.12 โรงเรียนบ้านลูโบ๊ะลือซง กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 64 คน (ครั้งที่ 1 วันที่ 25 ธันวาคม 2563) ได้มีการกำจัดทั้งหมด 64 คน คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี และหลังจากที่หมักยาสมุนไพรกำจัดเหา 1 ชั่วโมง ได้มีการล้างศีรษะและแชมพู และใช้หวีเสนียตหวีเหาเพื่อกำจัดเหาบนหนังศีรษะ และนัดติดตามพร้อมกำจัดเหาครั้งที่ 2 ในวันที่ 14 มกราคม 2564     และได้มีการให้ความรู้กับผู้ปกครอง คุณครู เกี่ยวกับการทำน้ำยาสมุนไพรกำจัดเหาเพื่อใช้เองที่บ้าน และสอนวิธีการกำจัดเหาที่ถูกวิธี การดุแลความสะอาดของหนังศีรษะ
กำจัดเหาครั้งที่ 2 (วันที่ 14 มกราคม 2564)   ได้มีการกำจัดเหาทั้งหมด 64 คน คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี และพบว่ากลุ่มเป้าหมายมีจำนวนเหาลดลงจากเดิม บางคนมีแต่ไข่เหาที่ตายไปแล้ว ซึ่งพบว่ามีนักเรียนที่ยังมีเหาเยอะจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 9.37 และเหาลดลงจำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 90.63 โรงเรียนบ้านมูโนะ กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 186 คน (ครั้งที่ 1 วันที่ 28 ธันวาคม 2563) ได้มีการกำจัดทั้งหมด 186 คน คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี และหลังจากที่หมักยาสมุนไพรกำจัดเหา 1 ชั่วโมง ได้มีการล้างศีรษะและแชมพู และใช้หวีเสนียตหวีเหาเพื่อกำจัดเหาบนหนังศีรษะ และนัดติดตามพร้อมกำจัดเหาครั้งที่ 2 ในวันที่ 15 มกราคม 2564   และได้มีการให้ความรู้กับผู้ปกครอง คุรครู เกี่ยวกับการทำน้ำยาสมุนไพรกำจัดเหาเพื่อใช้เองที่บ้าน และสอนวิธีการกำจัดเหาที่ถูกวิะี การดูแลความสะอาดของหนังศีรษะ กำจัดเหาครั้งที่ 2 (วันที่ 14 มกราคม 2564)   ได้มีการกำจัดทั้งหมด 186 คน คิดเป็นร้อยละ 100 นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี และพบว่ากลุ่มเป้าหมายมีจำนวนเหาลดลงจากเดิม บางคนมีแต่ไข่เหาที่ตายแล้ว ซึ่งพบว่ามีนักเรียนที่ยังมีเหาเยอะจำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 20.43 และเหาลดลงจำนวน 148 คน คิดเป็นร้อยละ 79.56

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการเป็นเหาในเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้ในการป้องกัน และรู้วิธีการกำจัดเหาเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อดูแลสุขภาพตัวเองเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 412
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 412
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการเป็นเหาในเด็กนักเรียน (2) เพื่อให้ผู้ปกครองและเด็กมีความรู้ในการป้องกัน และรู้วิธีการกำจัดเหาเพิ่มขึ้น (3) เพื่อดูแลสุขภาพตัวเองเบื้องต้นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นตอนการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh