กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
รณรงค์คัดกรอง4 พฤศจิกายน 2563
4
พฤศจิกายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.มูโนะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมที่ 1 รณรงค์คัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง/หัวใจและหลอดเลือด และให้ความรู้ในรูปแบบคลินิกสัญจร หมู่ที่ 5 บ้านบูเก๊ะ - ค่าจ้างเหมาถ่ายเอกสารคัดกรองโรคเรื้อรังแผ่นละ 0.5 บาท x 350 แผ่น เป็นเงิน 175 บาท - ค่าจ้างเหมาจัดทำไวนิลประชาสัมพันธ์กิจกรรม จำนวน 1แผ่น x 900 บาท เป็นเงิน 900 บาท - ค่าจัดซื้อเครื่องเจาะน้ำตาลในเลือด เครื่องละ 2,500 บาท จำนวน 2 เครื่อง เป็นเงิน 5,000 บาท - ค่าจัดซื้อเครื่องวัดความดันโลหิตสูง เครื่องละ 2,500 บาท จำนวน 2 เครื่อง เป็นเงิน 5000 บาท - ค่าอาหารว่างสำหรับรณรงค์ผู้เข้าร่วมกิจกรรม รณรงค์คัดกรอง ความดันโลหิตสูง/เบาหวานจำนวนครั้งละ 70 คน x 25 บาท x 5 วัน เป็นเงิน 8,750  บาท จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม    19,825.00  บาท กิจกรรมที่ 2 กล่องยา เตือนตนหมู่ที่ 5 บ้านบูเก๊ะ - ค่ากล่องพลาสติกเอนกประสงค์สำหรับใส่ยา สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง คนละ1 ใบ ใบละ  50 x 100เป็นเงิน 5,000 บาท - ค่าซองพลาสติกใส่บัตร ซองละ 15 บาท x 100 คน x คนละ 2 ชิ้น เป็นเงิน 1,500 บาท -ค่าวัสดุจัดกิจกรรม ประกอบด้วย -กาวสองหน้า -กระดาษสี กำหนดระดับกลุ่มเสี่ยง -พลาสเตอร์ใส จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม  9,500.00 บาท กิจกรรมที่ 3 การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง DPAC หมู่ที่ 5 บ้านบูเก๊ะ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมจำนวน 20 คน x 25 x 2 มื้อ เป็นเงิน 1,000บาท
- ค่าอาหารกลางวันในการจัดอบรมจำนวน 20 คน x 50 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 1,000บาท
- ค่าวัสดุในการจัดกิจกรรม ประกอบด้วย  แฟ้ม,สมุด , ปากกา เป็นเงิน  1,000 บาท - ค่าวิทยากร ชม. ละ 600 x 6 ชม. เป็นเงิน 3,600 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมิน และคำบรรยายแผ่นละ 0.5 บาท x 20 แผ่น x 20 ชุด เป็นเงิน 200 บาท
- ค่าอาหารว่าง (ผลไม้เพื่อสุขภาพ) และเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการติดตามระดับความดันโลหิตสูง/น้ำตาลในเลือด 20 คน x 25 บาท x 3 ครั้ง เป็นเงิน 1,500 บาท จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม    10,300.00  บาท งบประมาณโครงการ ที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 39,625.00 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนทั่วไป ผู้ป่วย/ผู้ดูแล ครอบครัวสามารถรับรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและอัมพฤกษ์ อัมพาต
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงในหมู่ที่ 5 ตำบลมูโนะ ได้รับการคัดกรองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข
  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย/ผู้ดูแล สามารถดูแลตนเองในการป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดความรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน
กล่องยา เตือนตน หมู่ที่ 5 บ้านบูเก๊ะ6 สิงหาคม 2563
6
สิงหาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.มูโนะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนกำหนดแนวทางการดำเนินงานโครงการร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต
  2. จัดเตรียมเอกสารโครงการ
  3. จัดเตรียมข้อมูล รายชื่อ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่รับยา รพ.สต
  4. จัดซื้อ วัสดุ อุปกรณ์ กิจกรรมและดำเนินการตามกิจกรรม
  5. ดำเนินงานตามโครงการ วันที่ 6 สิงหาคม 2563 ณ. รพ.สต มูโนะ อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส
  6. รวบรวมวิเคราะห์ และประเมินผลการดำเนินการ
  7. รายงานผลการดำเนินงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนทั่วไป ผู้ป่วย/ผู้ดูแล ครอบครัวสามารถรับรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและอัมพฤกษ์ อัมพาต
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงในหมู่ที่ 5 ตำบลมูโนะ ได้รับการคัดกรองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข
  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย/ผู้ดูแล สามารถดูแลตนเองในการป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดความรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง DPAC หมู่ที่ 5 บ้านบูเก๊ะ24 กรกฎาคม 2563
24
กรกฎาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.มูโนะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. หลังการเสร็จสิ้นการรณรงค์คัดกรองภาวะสุขภาพเบื้องต้นในกิจกรรมที่ 1.1 เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิต/โรคเบาหวานและโรคอ้วนในชุมชน
  2. ทำการส่งข้อมูลการคัดกรองให้เจ้าหน้าที่ รพ.สต เพื่อคัดกลุ่มเสี่ยง มาทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. เรียกกลุ่มเสี่ยง มาทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ รพ.สต ในวันที่ 24 กรกฎาคม 2563 ณ.รพ.สต มูโนะ ต.มุโนะ  อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส
  4. หลังจากมีการประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น ทำแบบประเมิน แจกเอกสารความรู้และการอบรมให้ความรู้ โดย วิทยากร
  5. มีการนัดหมายการติดตาม จำนวน 3 ครั้ง เพื่อให้ กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองในทางที่ดีขึ้น เป็นเวลา 6 เดือน
  6. สรุปผลการดำเนินงาน และการพัฒนาการดำเนินงานในปีงบประมาณต่อไป
  7. ผลการดำเนินงานกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง DPAC
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ประชาชนทั่วไป ผู้ป่วย/ผู้ดูแล ครอบครัวสามารถรับรู้เกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของการเกิดโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและอัมพฤกษ์ อัมพาต
  2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงในหมู่ที่ 5 ตำบลมูโนะ ได้รับการคัดกรองครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข
  3. ประชากรกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วย/ผู้ดูแล สามารถดูแลตนเองในการป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง เพื่อลดความรุนแรงและเกิดโรคแทรกซ้อน