กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมไข้เลือดออก ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ประจำปี 2563
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 4 ตุลาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 88,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลป่าชิง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.939,100.686place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 4 ต.ค. 2562 4 ต.ค. 2562 88,900.00
รวมงบประมาณ 88,900.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 102 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
6.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน)

6.00 2.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 102 88,900.00 1 30,900.00
6 ธ.ค. 62 - 27 มิ.ย. 63 ฉีดพ่นหมอกควัน 102 88,900.00 30,900.00
  1. จัดประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
  2. ประสานงานกับกลุ่มองค์กรในชุมชน เช่น อบต. ผู้นำชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ตำบลป่าชิงสามารถสร้างหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลายที่มีความยั่งยืนเพราะจะถูกกระตุ้นเตือนโดย อสม. ทั้งภายในหมู่บ้าน และต่างหมู่บ้าน โดยการสนับสนุนของภาคราชการและส่วนท้องถิ่่นทั้งทางด้านเทคนิควิชาการและสิ่งสนับสนุนอื่น ๆ อันเป็นกระบวนการแก้ไขปัญหาโรคในท้องถิ่น โดยกลวิธีทางสาะารณสุขมูลฐาน ชุมชนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง คือ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไขปัญหาได้ในที่สุด

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ต.ค. 2562 16:01 น.