กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว


“ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กแรกเกิด 0-3 ปีและเด็กปฐมวัย ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางมาริสา มากเพ็ง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กแรกเกิด 0-3 ปีและเด็กปฐมวัย ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กแรกเกิด 0-3 ปีและเด็กปฐมวัย ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กแรกเกิด 0-3 ปีและเด็กปฐมวัย ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กแรกเกิด 0-3 ปีและเด็กปฐมวัย ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากข้อมูลการสำรวจสภาวะช่องปากปีงบประมาณ 2557 2558 และ 2559 ของจังหวัดตรังพบว่าส เด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 53.70 , 48.80 และ 5.20 ตามลำดับ สำหรับอำเภอรัษฎา พบเด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 49.83 , 47.50 และ 46.11 ตามลำดับ ในขณะที่ตำบลหนองบัว พบเด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 77.14 , 47.83 และ 45.66 ตามลำดับ การเกิดฟันผุในเด็กนอกจากจะมีผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพของเด็กในขณะนั้นแล้ว ยังมีผลเสียต่เด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่ถูกถอนออกหรือหลุดก่อนเวลาอันควร ทำให่ไม่สามารถกันที่ไว้ให้ฟันแท้ขึ้นในตำแหน่งที่ถูกต้องได้ จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวน เก ล้ม เอียง เข้าหาช่วงว่าง อาจขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกัน ไม่เหมาะกับใบหน้าเด้ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออก มีผลต่อการบดเคี้ยว การพูดชัด การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการให้บริการทันตกรรมครบวงจร ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาและค่าใช้จ่ายสูง การป้องกันมิให้เกิดผลกระทบจะต้องจัดบริการทันตกรรมเชิงรุก ได้แก่ งานส่งเสริมป้องกันสภาวะสุขภาพช่วงปาก (การตรวจสุขภาพปาก , การให้ทันตกรรมสุขศึกษา , ฝึกการแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติให้แก่ผู้ปกครองและเด็กเล็ก , การทาฟลูออไรล์วานิช) นอกจากนี้ต้องอาศัยการรักษาและฟื้นฟูทางทันตกรรมในเด็กที่มีปัยหาสูญเสียเนื้อฟันแลฟันบางส่วนไป ทั้งนี้ต้องอาศัยการติดตามและประเมินผลรวมไปถึงการรณรงค์และสนับสนุนกิจกรรมการดูแลสุขภาพฟันทางกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลรัษฎา จึงได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังทันตกรรมสุขภาพและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันทันตกรรมสุขภาพในเด็กแรกเกิด 0 - 3 ปีและเด็กปฐมวัย เพื่อสุขภาพช่องปากที่ดีของเด็กในเขตพื้นที่รับผิดชอบของตำบลหนองบัว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กแรกเกิด 0-3 ปี และเด็กปฐมวัยในเขตตำบลหนองบัวได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและมีสภาวะช่องปากที่ดี
  2. 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในเขตตำบลหนองบัวและครูผู้ดูแลเด็ก ได้เข้าใจและดูแลเอาใจใส่สุขภาพช่องปาก
  3. 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันแก่เด็กอย่างน้อย 1 ครั้ง
  4. 4. เพื่อให้ผู้ปกครองๆได้รับทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ความรู้และบริการทางทันตกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 500
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กแรกเกิด 0-3 ปีและเด็กปฐมวัยที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพช่องปากที่ดีและไม่พบรอยโรคฟันผุเพิ่มเติม
  2. ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก เด็กปฐมวัยได้เห็นถึงความสำคัญของการมีสุขภาพช่องปากที่ดี มีสุขภาพช่องปากที่ดี มีความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
  3. ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดูแลเด็กต่อเนื่องได้ในช่วงอายุถัดไป
  4. ผู้ปกครองนำเด็กไปรับการรักษาตามผลการตรวจที่ได้แจ้ง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ความรู้และบริการทางทันตกรรม

วันที่ 17 สิงหาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

  1. ตรวจสุขภาพช่องปากแก่เด็กใน ศพด. และ ชั้นอนุบาลในโรงเรียนประถม
  2. ให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพแก่ครู ผดด. และเด็ก
  3. แจ้งผลการตรวจสุขภาพช่องปากแก่ผู้ปกครอง
  4. ให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชแก่เด็กกลุ่มเสี่ยง โดยทันตบุคลากร
  5. ให้บริการทางทันตกรรมตามความจำเป็นแก่เด็ที่มีปัญหาทันตสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเด็กแรกเกิด 0-3 ปี 1. ร้อยละ 80 ของเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ที่มารับวัคซีนในคลินิก เด็กปฐมวัย ความสะอาด และประเมินความเสี่ยงต่อโรคฟันผุและบันทึกสภาวะช่องปาก จำนวน 175 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.50 2. ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ได้รับทันตสุขศึกษาฝึกแปรงฟันเด็กเล็กแก่ผู้ปกครองแบบลงมือปฏิบัติอย่างน้อย 1 ครั้ง จำนวน 175 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 3. ร้อยละ 70 ของเด็กอายุ 1-3 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง จำนวน 123 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 4. ร้อยละ 80 ของเด็กอายุ 9 เดือน ถึง 2.6 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 107 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มเด็กปฐมวัย 1. ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับทันตสุขศึกษาฝึกทักษะการแปรงฟัน จำนวน 192 ราย คิดเป็นร้อยละ 92.30 2. ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับการแจ้งผลการตรวจและคำแนะนำ จำนวน 192 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 3. ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากแล้วพบว่ามีความเสี่ยงได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 192 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 4. ร้อยละ 50 ของเด็ก 3 ปีปราศจากฟันผุ จำนวน 26 รายคิดเป็นร้อยละ 54.16 5. ร้อยละ 80 ของ ศพด. ดำเนินการกิจกรรมเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพ ระดับ 5 จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 6. ร้อยละ 80 ของ ศพด. ประกาศนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดีของเด็ก จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

 

416 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มเด็กแรกเกิด 0-3 ปี 1. ร้อยละ 80 ของเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ที่มารับวัคซีนในคลินิก เด็กปฐมวัย ความสะอาด และประเมินความเสี่ยงต่อโรคฟันผุและบันทึกสภาวะช่องปาก จำนวน 175 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.50 2. ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ได้รับทันตสุขศึกษาฝึกแปรงฟันเด็กเล็กแก่ผู้ปกครองแบบลงมือปฏิบัติอย่างน้อย 1 ครั้ง จำนวน 175 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 3. ร้อยละ 70 ของเด็กอายุ 1-3 ปี ได้รับการแปรงฟันก่อนนอนโดยผู้ปกครอง จำนวน 123 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 4. ร้อยละ 80 ของเด็กอายุ 9 เดือน ถึง 2.6 ปี ได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 107 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 กลุ่มเด็กปฐมวัย 1. ร้อยละ 100 ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับทันตสุขศึกษาฝึกทักษะการแปรงฟัน จำนวน 192 ราย คิดเป็นร้อยละ 92.30 2. ร้อยละ 100 ของผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากได้รับการแจ้งผลการตรวจและคำแนะนำ จำนวน 192 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 3. ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากแล้วพบว่ามีความเสี่ยงได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 192 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 4. ร้อยละ 50 ของเด็ก 3 ปีปราศจากฟันผุ จำนวน 26 รายคิดเป็นร้อยละ 54.16 5. ร้อยละ 80 ของ ศพด. ดำเนินการกิจกรรมเฝ้าระวังทางทันตสุขภาพ ระดับ 5 จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 6. ร้อยละ 80 ของ ศพด. ประกาศนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดีของเด็ก จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กแรกเกิด 0-3 ปี และเด็กปฐมวัยในเขตตำบลหนองบัวได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและมีสภาวะช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในเขตตำบลหนองบัวและครูผู้ดูแลเด็ก ได้เข้าใจและดูแลเอาใจใส่สุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันแก่เด็กอย่างน้อย 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด :

 

4 4. เพื่อให้ผู้ปกครองๆได้รับทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็ก
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 500
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กแรกเกิด 0-3 ปี และเด็กปฐมวัยในเขตตำบลหนองบัวได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและมีสภาวะช่องปากที่ดี (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชั้นอนุบาลในเขตตำบลหนองบัวและครูผู้ดูแลเด็ก ได้เข้าใจและดูแลเอาใจใส่สุขภาพช่องปาก (3) 3. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด 0-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันแก่เด็กอย่างน้อย 1 ครั้ง (4) 4. เพื่อให้ผู้ปกครองๆได้รับทราบถึงปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ความรู้และบริการทางทันตกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในเด็กแรกเกิด 0-3 ปีและเด็กปฐมวัย ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2560 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมาริสา มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด