กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
นิเทศกองทุนระดับอำเภอโซนอำเภอควนกาหลง มะนัง ท่าแพ ควนโดน14 สิงหาคม 2563
14
สิงหาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวนิสากร บุญช่วย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมตัวแทนกองทุนฯในเขตพื้นที่อำเภอมะนัง ท่าแพ ควนโดน ควนกาหลง เพื่อติดตามผลการดำเนินงานที่ผ่านมา  มีผู้เข้าร่วมการประชุมจากกองทุนฯในเขตโซนอำเภอที่กำหนด ประมาณ 30 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กองทุนฯ อบต.วังประจัน ยังไม่สมัครเข้า LTC
กองทุนฯ อบต.ควนสะตอ
กองทุนฯเทศบาลตำบลควนโดน  สมัครLTC แต่ยังไม่สำรวจข้อมูล ADL
กองทุนฯอบต.ย่านซื่อ สมัคร LTC แต่ยังไม่ดำเนินการสำรวจข้อมูล ADL
กองทุนฯอบต.ควนโดน สมัคร LTC แต่ยังไม่ดำเนินการสำรวจข้อมูล ADL
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. ทุ่งนุ้ย สมัคร LTC แต่ยังไม่มีการอนุมัติ careplan กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. ควนกาหลง มีการดำเนินงานLTC แล้ว กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.อุใดเจริญ สมัคร LTC แต่ยังไม่มีการอนุมัติ careplan
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นิคมพัฒนา มีการดำเนินงาน LTC แล้ว กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปาล์มพัฒนา มีการดำเนินงาน LTC แล้ว
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สาคร ยังไม่สมัครเข้าร่วม LTC กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ท่าแพ สมัคร LTC แต่ยังไม่มีการอนุมัติ careplan
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ท่าเรือ สมัคร LTC แตjยังไม่มีการอนุมัติ careplan
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.แประ สมัคร LTC

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น จ.สตูล10 สิงหาคม 2563
10
สิงหาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวนิสากร บุญช่วย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดเวทีแลกเปลี่ยนวิชาการ
วันที่ 10 ส.ค. 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา  วิทยาเขตสตูล
08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน (รับคูปองลุ้นรับของที่ระลึก) 09.00 น. – 09.30 น. กล่าวรายงานการจัดกิจกรรม
โดย นางกัลยทรรศน์  ติ้งหวัง ตำแหน่งประธานพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดสตูล
กล่าวเปิดโดย ท้องถิ่นจังหวัดสตูล 09.30 น. – 10.15 น. นำเสนอผลงานสื่อโปสเตอร์ จำนวน 7 กองทุน ได้แก่ 1. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ 2. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน 3. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด 4. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ 5. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนขัน 6. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง 7. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปาล์มพัฒนา

10.15 น. – 11.15 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เวทีวิชาการ ดังนี้ ประเด็นที่ 1  การดำเนินงาน LTC  กองทุนที่ส่งผลงาน จำนวน 3 กองทุนฯ
ดำเนินรายการโดย นางเกศวรางค์  สารบัญ  ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริการสาธารณสุข 1. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล 2. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งหว้า 3. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา กรรมการตัดสิน นางบุศย์รินทร์  สิทธิภาจิรสกุล ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
นายเจ๊ะอับดุลล่าห์  แดหวัน  ตำแหน่ง ผู้ทรงคุณวุฒิ นายนันทวัฒน์  เต๊ะสมัน ตำแหน่ง แพทย์ประจำตำบลวังประจัน ประเด็นที่ 2 โครงการดีเด่นในประเด็น อาหารและโภชนาการ กองทุนที่ส่งผลงาน จำนวน 3 กองทุนฯ  ดำเนินรายการโดย นายกูดนัย  ราเหม 1. โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุ 0-72 เดือน ประจำปีงบประมาณ 2562  จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
2. โครงการหมู่บ้านต้นแบบใส่ใจสุขภาพพึ่งพาตนเอง จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลละงู 3. โครงการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขภาวะโภชนาการอ้วน ผอม เตี้ย และสมส่วนในเด็กวัยเรียน กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปาล์มพัฒนา กรรมการตัดสิน นายอรัญ  มัจฉา  ตำแหน่งผู้อำนวยการ รพ.สต.ปากน้ำ นางกัลยทรรศน์  ติ้งหวัง  ตำแหน่งประธานสมาคมคุ้มครองผู้บริโภค นายภาษิต  พิศาลสุทธิกุล ตำแหน่งเภสัชกรชำนาญการพิเศษ

11.15 น.- 12.00 น.                      เสวนาประเด็น การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ผู้นำเสวนา นายตรา เหมโคกน้อย ตำแหน่งปลัด อบต.ปากน้ำ ผู้เสวนา ประกอบด้วย - เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน LTC ระดับเขต 12 สงขลา - เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา - ตัวแทนนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (นายกองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน) - ท้องถิ่นจังหวัดสตูล จับของที่ระลึก จำนวน 10 รางวัล


12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน


13.00 น. – 14. 30 น. จับของที่ระลึก จำนวน 10 รางวัล ประเด็นที่ 3 โครงการดีเด่นในประเด็น กิจกรรมทางกาย กองทุนที่ส่งผลงาน
จำนวน 3 กองทุนฯ  ดำเนินรายการโดย นางสาวนิสากร  บุญช่วย 1. โครงการ To Be Number One  จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปูยู 2. โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลโรค ปีงบประมาณ 2563  จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ 3. โครงการส่งเสริมสุขภาพพนักงานเทศบาลตำบลกำแพงและแกนนำชุมชน จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพง

กรรมการตัดสิน นายตรา  เหมโคกน้อย  ตำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ นายคณิต  ตุกังหัน  ตำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลแหลมสน นายสมชาติ  พรหมโกศรี ตำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลป่าแก่บ่อหิน

ประเด็นที่ 4 โครงการดีเด่นในประเด็น ปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด      จำนวน 3 กองทุนฯ  ดำเนินรายการโดย นายลิขิต  อังศุภานิช
1. โครงการ GEN-Z ไร้ควันบุหรี่ ปีงบประมาณ 2562 จากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด 2. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลย่านซื่อ 3. โครงการค่ายพัฒนาศักยภาพสมาชิกแกนนำ TO Be Number One จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง กรรมการตัดสิน นายสมพงษ์ หลีเคราะห์  ตำแหน่งนักวิจัยท้องถิ่นจังหวัดสตูล นายอับดุลเลาะฮ์  นารอยี ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญการ นางลัดดา  อาแวบือซา  ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

จับของที่ระลึก จำนวน 10 รางวัล

14.30 น. – 16.00 น. มอบรางวัลการประกวดเวทีวิชาการ  พิธีกรโดย  นางกัลยทรรศน์  ติ้งหวัง
และ นายอับดุลเลาะฮ์  นารอยี ประเด็นที่ 1  การดำเนินงาน LTC ประเด็นที่ 2 โครงการดีเด่นในประเด็น อาหารและโภชนาการ ประเด็นที่ 3 โครงการดีเด่นในประเด็น กิจกรรมทางกาย ประเด็นที่ 4 โครงการดีเด่นในประเด็น ปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด

มอบโล่รางวัลให้แก่กองทุนฯที่ส่งประกวดผลการดำเนินโครงการเป็นสื่อ โปสเตอร์ ขนาด 100 ซม. * 80 ซม. จำนวน 7 รางวัล  ดังนี้
1. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ 2. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน 3. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด 4. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ 5. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนขัน 6. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง 7. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปาล์มพัฒนา


มอบรางวัล การดำเนินงานบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ของ จังหวัดสตูล
ระดับเหรียญทอง  จำนวน 3 กองทุนฯ ได้แก่ 1. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอน 2. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง 3. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งหว้า ระดับ เหรียญเงิน  จำนวน 10 กองทุนฯ ได้แก่ 1. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด 2. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนขัน 3. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหว้า 4. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแประ 5. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง 6. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน 7. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลปาล์มพัฒนา 8. กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสตูล 9. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา 10. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ ระดับเหรียญทองแดง  จำนวน 5  กองทุน 1. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเจ๊ะบิลัง 2. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ 3. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนสตอ 4. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว 5. กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าแพ

จับของที่ระลึก จำนวน 10 รางวัล


16.00 น. – 16.30 น. สรุปผลกิจกรรม / เสร็จสิ้นกิจกรรม

หมายเหตุ  พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา ประมาณ 10.30 น. และ  15.00 น.                   กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนวิชาการ จำนวน 150 คน มีผลงานวิชาการส่งเข้าประกวด
จำนวน 19 ผลงาน ดังนี้ การประกวดสื่อโปสเตอร์
รางวัลชนะเลิศ เข้าใจ เข้าถึง สุขภาพผู้ป่วยติดเตียง กองทุนฯ อบต.กำแพง รองชนะเลิศ  เปลี่ยนภัยน้ำมันทอดซ้ำ สู่พลังงานทางเลือกไบโอดีเซล กองทุนฯอบต.ปากน้ำ
          โครงการพัฒนาการเด็กปฐมวัย กองทุนฯ อบต.นาทอน
          โครงการส่งเสริมสุขภาพและแก้ไขภาวะโภชนาการอ้วน ผอม เตี้ย ในเด็กนักเรียน ประจำปี 2562 กองทุนฯ อบต.ปาล์มพัฒนา
          โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข กองทุนฯ เทศบาลตำบลคลองขุด
          โครงการรักษ์สุขภาพห่างไกลโรค กองทุนฯ อบต.อุใดเจริฐ
          โครงการรักสุขภาพ รักสิ่งแวดล้อม ร่วมใจลดขยะ กองทุนฯ อบต.ควนขัน
การดำเนินงาน LTC
รางวัลชนะเลิศ เทศบาลเมื่องสูตล รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1  อบต.นิคมพัฒนา
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2  เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

ดีเด่นด้านอาหารและโภชนาการ
รางวัลชนะเลิศ  โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็ก อายุ 0- 72 เดือน กองทุนฯ อบต.บ้านควน
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1  โครงการส่งเสริมสุขภาพและโภชนาการอ้วน ผอม เตี้ย กองทุนฯ อบต.ปาล์มพัฒนา รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2  โครงการหมู่บ้านต้นแบบใส่ใจสุขภาพ พึ่งพา ตนเอง กองทุนฯ อบต.ละงู

ประเด็นกิจกรรมทางกาย
รางวัลชนะเลิศ  โครงการรักษ์สุขภาพ ห่างไกลโรค กองทุนฯ อบต.อุใดเจริญ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน  กองทุนฯ เทศบาลตำบลกำแพง
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2  โครงการทูบีนัมเบอร์วัน กองทุนฯ อบต.ปูยู

ดีเด่นด้านกำจัดปัจจัยเสี่ยง เปล้า บุหรี่ ยาเสพติด
รางวัลชนะเลิศ โครงการสกัดนักสูบหน้าใหม่ นักศึกษาเรียนรู้ปลับเปลี่ยนพฤติกรรม การสูบบุหรี่ในพื้นที่สาธารณะบ้านเขารูปน้อย
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 โครงการค่าย Tobe number one กองทุนฯ อบต.ควนกาหลง
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 โครงการ Gen Z กองทุนฯเทศบาลตำบลคลองขุด

นิเทศกองทุนระดับอำเภอโซนอำเภอเมืองสตูล4 สิงหาคม 2563
4
สิงหาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวนิสากร บุญช่วย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. พี่เลี้ยงลงประเมินพื้นที่คัดเลือกกองทุนฯในเขตอำเภอเมือง เพื่อนำเสนอผลงานวิชาการ กองทุนที่เข้าร่วมได้แก่
    กองทุนฯเทศบาลเมืองสตูล
    กองทุนฯ อบต.บ้านควน
    กองทุนฯ อบต.ปูยู
    กองทุนฯเทศบาลตำบลคลองขุด
    กองทุนฯ อบต.ควนขัน

2.ประชุมเจ้าหน้าที่รับผิดชอบกองทุนฯ เขตอำเภอเมือง เพื่อพูดคุยปัญหาการดำเนินงานกองทุนฯ และการแก้ไขปัญหาการดำเนินงาน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมินติดตาม
กองทุนฯอบต. บ้านควน  สมัครเข้าร่วม LTC แต่ยังไม่ดำเนินการ เนื่องจากจัดตั้งศูนย์ฯยังไม่เรียบร้อย เบิกจ่ายเงินผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน
กองทุนฯ อบต.เจ๊ะบิลัง  สมัครเข้าร่วม LTC แต่ยังไม่มีการดำเนินงาน เนื่องจาก ทางCM ยังไม่ดำเนินการส่ง caerplan เบิกจ่ายเงินผ่าน รพสต. เพราะในพื้นที่ไม่มีศูนย์พัมนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
กองทุนฯเทศบาลตำบลฉลุง สมัครเข้าร่วม LTC แต่ยังไม่ได้ดำเนินการ เนื่องจาก ทางCM ยังไม่ดำเนินการส่ง caerplan เบิกจ่ายเงินผ่านศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกตรี ยังไม่สมัคร LTC
กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด  ดำเนินงาน LTC แล้ว
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. ควนขัน ดำเนินงาน LTC แล้ว
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกาะสาหร่าย สมัคร LTC แต่ยังไม่อนุมัติ careplan กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตำมะลัง สมัคร LTC แต่ยังไม่อนุมัติ careplan กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ปูยู ยังไม่สมัคร LTC กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. ควนโพธิ์ ยังไม่สมัคร LTC กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองสตูล ดำเนินงาน LTC แล้ว
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. ฉลุง  ยังไม่สมัคร LTC กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. เจ๊ะบิลัง สมัคร LTC แต่ยังไม่อนุมัติ careplan กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลฉลุง สมัคร LTC แต่ยังไม่อนุมัติ careplan กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. บ้านควน สมัคร LTC แต่ยังไม่อนุมัติ careplan
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตันหยงโป  สมัคร LTC แต่ยังไม่อนุมัติ careplan
กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลเจ๊ะบิลัง สมัคร LTC แต่ยังไม่อนุมัติ careplan

นิเทศกองทุนระดับอำเภอโซนอำเภอละงู ทุ่งหว้า3 สิงหาคม 2563
3
สิงหาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย อนัญญา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดประชุมนิเทศงานกองทุนอำเภอละงูและอำเภอทุ่งหว้าจำนวน 13 กองทุน เพื่อปัญหาการดำเนินงานกองทุนและแนวทางแก้ไข

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จัดกิจกรรมวันที่ 3 สิงหาคม 2563 ณ สมาคมผู้บริโภคสตูล มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 20 คน ประกอบด้วย
1. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานกองทุน
2. พี่เลี้ยงกองทุน
เป็นการพูดคุยแลกเปลียนการทำงานกองทุนซึ่งได้แบ่งกองทุนออกเป็น 3 ระดับคือ
1. กองทุนระดับ A มีแผนงานโครงการครบและมีการประชุมคณะกรรมการอย่างต่อเนื่องจำนวน 5 กองทุน
2. กองทุนระดับ B มีแผนงานโครงการแต่ไม่ครบ มีการประชุมคณะกรรมการบ้าง คีย์ข้อมูลเข้าระบบ จำนวน 7 กองทุน
3. กองทุนระดับ C มีแผนงานโครงการ มีการประชุมคณะกรรมการแต่ไม่คีย์ข้อมูลเข้าระบบ จำนวน 1 กองทุน
ซึ่งกองทุนที่มีเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานมาใหม่ทางพี่เลี้ยงก็จะลงไปทำความเข้าใจในระดับกองทุนอีกครั้งแต่กองทุนไหนที่สามารถดำเนินการเองได้ก็ดำเนินการได้ตามปกติมีข้อสงสัยก็สามารถประสานมายังพี่เลี้ยงผู้รับผิดชอบงานแต่ละกองทุนได้ ในส่วนของแผนงานจะเป็นปัยหาเป็นอย่างมากเนื่องจากกองทุนไม่สามารถใส่ข้อมูลได้หรือมีข้อมูลแต่มีน้อยดังนั้นก็มีข้อเสนอให้ทำโครงการเพื่อพัฒนาระบบข้อมูลให้มีความสมบูรณ์มากขึ้นในปี 64 กองทุน อบต.ทุ่งบุหลัง,ป่าแก่บ่อหิน,ขอนคลาน ได้สมัคร LTC แล้วแต่ยังไม่ได้ดำเนินการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. น้ำผุด สมัคร LTC แล้วแต่ยังไม่อนุมัติ careplan กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. ปากน้ำ สมัคร LTC แล้วแต่ยังไม่อนุมัติ careplan กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.แหลมสน สมัคร LTC แล้วแต่ยังไม่อนุมัติ careplan กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กำแพง มีการดำเนินงาน LTC แล้ว กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ละงู สมัคร LTC แล้วแต่ยังไม่อนุมัติ careplan กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลทุ่งหว้า มีการดำเนินงาน LTC แล้ว กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ทุ่งหว้า มีการดำเนินงาน LTC แล้ว กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.นาทอน มีการดำเนินงาน LTC แล้ว
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เขาขาว ยังไม่สมัคร LTC
กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลกำแพง สมัคร LTC แล้วแต่ยังไม่อนุมัติ careplan

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ตันหยงโป โดย ส.อ.สุทิน หมูดเอียด15 มิถุนายน 2563
15
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย อนัญญา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน
ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 0 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน ประเมินได้ 0 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 15 คะแนน
รวม 75 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 2 คะแนน
รวม 18 คะแนน

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.เขาขาว โดย ส.อ.สุทิน หมูดเอียด15 มิถุนายน 2563
15
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย อนัญญา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน
ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ  ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ  ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน ประเมินได้ 15 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 15 คะแนน
รวม 100 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 2 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 2 คะแนน
รวม 10 คะแนน

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.สาคร โดย ส.อ.สุทิน หมูดเอียด15 มิถุนายน 2563
15
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ชัญญานุช
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน
ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

การดำเนินงานปี 2563 ยังไม่มีการดำเนินงานใดๆเลย
เนื่องจากเปลี่ยนแปลงผู้ปฏิบัติงานกองทุน ให้คำแนะนำการดำเนินงาน การจัดทำแผนงานต่างๆ การใช้จ่ายเงิน

ประชุมพี่เลี้ยงกองทุนระดับจังหวัดสตูล ครั้งที่ 513 มิถุนายน 2563
13
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวนิสากร บุญช่วย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดประชุมพี่เลี้ยงเพื่อติดตามผลการประเมินรายกองทุนฯ และการเตรียมความพร้อม วางแผนงานในการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของจังหวัดสตูล ในวันที่ 10 สิงหาคม 2563

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปรายงานการประชุมพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดสตูล ครั้งที่ 5 1.ติดตามการประเมินกองทุนของพี่เลี้ยง ต้องลงบันทึกใน google form นะคะ  ขอสตูล บันทึกแล้ว 23 กองทุน ให้แล้วเสร็จภายในวันที่  15 มิถุนายน 2563 2.แบ่งกลุ่มตามห้องย่อยวิชาการ  หากองทุนเป้าหมายในการนำเสนอ  ระบุกรรมการ จำนวนคน  เพื่อส่งยอดให้น้องแฟร์คะ ดังนี้
2.1 ห้อง LTC  พี่เลี้ยงที่รับผิดชอบ นายวีรพล  นายเจ๊ะอับดุลล่าห์  นางเกศวรางค์  นายสมนึก  หัวข้อที่กำหนดให้ ดังนี้
2.1.1  กองทุนฯที่ส่งเข้าประกวด จำนวน 3 กองทุนฯ
2.1.2 คณะกรรมการตัดสินการประกวดวิชาการ เวทีย่อย จำนวน 3  คน  ประกอบด้วย  นางเกศวรางค์ ............................. 2.1.3 หลักเกณฑ์และรูปแบบการประกวด  (พี่ลิขิต รับผิดชอบ) 2.1.4  พิธีกร  นายสมนึก 2.2 ห้องย่อย ประเด็น อาหารและโภชนาการ  พี่เลี้ยงที่รับผิดชอบ นางกัญญาทรรศน์  นางสาวอนัญญา  นาบกูดานัย 2.2.1  กองทุนฯที่ส่งเข้าประกวด จำนวน 3 กองทุนฯ
2.2.2 คณะกรรมการตัดสินการประกวดวิชาการ เวทีย่อย จำนวน 3  คน  ประกอบด้วย นางกัญญาทรรศน์ 2.2.3 หลักเกณฑ์และรูปแบบการประกวด  (พี่ลิขิต รับผิดชอบ) 2.2.4 พิธีกร  นายกูดานัย 2.3 ห้องย่อย ประเด็น กิจกรรมทางกาย  พี่เลี้ยงที่รับผิดชอบ นางสาวนิสากร  นางสาวสาวิตรี  นายตรา  นายสุทิน 2.3.1  กองทุนฯที่ส่งเข้าประกวด จำนวน 3 กองทุนฯ
2.3.2 คณะกรรมการตัดสินการประกวดวิชาการ เวทีย่อย จำนวน 3  คน  ประกอบด้วย  นายตรา 2.3.3 หลักเกณฑ์และรูปแบบการประกวด  (พี่ลิขิต รับผิดชอบ) 2.3.4 พิธีกร นางสาวนิสากร 2.4 ห้องย่อย ประเด็น ปัจจัยเสี่ยง (เหล้า  บุหรี่  ยาเสพติด)  พี่เลี้ยงที่รับผิดชอบ  นายวรวิทย์  นางชัญญานุช  นายอับดุลเลาะห์  นายลิขิต 2.4.1  กองทุนฯที่ส่งเข้าประกวด จำนวน 3 กองทุนฯ
2.4.2 คณะกรรมการตัดสินการประกวดวิชาการ เวทีย่อย จำนวน 3  คน  ประกอบด้วย นายอัลดุลเลาะห์
2.4.3 หลักเกณฑ์และรูปแบบการประกวด  (พี่ลิขิต รับผิดชอบ) 2.4.4 พิธีกร นางชัญญานุช

3.วางรูปแบบกำหนดการจัดเวทีแลกเปลี่ยน  รายละเอียดตามกำหนดการ 4.วางกรอบการประกวดโปสเตอร์  (รอผลคะแนนการประเมินรายกองทุนฯ)  กรรมการตัดสินการประกวด  นายลิขิต
นายเจ๊ะอับดุลล่าห์  นายวีรพล


กำหนดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เวทีวิชาการ กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ จังหวัดสตูล 10  สิงหาคม 2563  เวลา 08.30 น. – 16.00 น. ณ วิทยาลัยชุมชน

08.30 น. – 09.00 น.     ลงทะเบียน (ลุ้นรับของที่ระลึก 50 คนแรก)
09.00 น. – 09.30 น.     กล่าวรายงานการจัดกิจกรรม<br />

โดย นางกัญญาทรรศน์  ติ้งหวัง ตำแหน่งประธานพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดสตูล
กล่าวเปิดโดย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสตูล 09.30 น. – 11.00 น. เสวนาประเด็น การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ผู้เสวนา ประกอบด้วย - ตัวแทนจากสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินจังหวัดสตูล - เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงาน LTC ระดับเขต 12 สงขลา - เจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา - ตัวแทนนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - ท้องถิ่นจังหวัดสตูล 11.00 น. – 12.00 น. มอบรางวัล ประกอบด้วย -    กองทุนดีเด่นระดับจังหวัด จำนวน 3 รางวัล ได้แก่  รางวัลชนะเลิศ  รอง
  ชนะเลิศอันดับที่ 1 และ 2 - กองทุนดีเด่นระดับอำเภอ จำนวน 3 รางวัล  รางวัลชนะเลิศ  รองชนะเลิศ อันดับที่ 1 และ 2 - มอบรางวัล ประกวดโปสเตอร์ จำนวน 3 รางวัล  รางวัลชนะเลิศ  รอง ชนะเลิศ  อันดับที่ 1 และ 2

12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน


13.00 น. – 15.00 น. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และตัดสินการประกวดเวทีวิชาการ จำนวน 4 ห้อง ดังนี้ ห้องที่ 1  การดำเนินงาน LTC  ประกวดผลงาน จำนวน 3 กองทุนฯ .............................................. ............................................. ............................................. มอบรางวัลการประกวด


ห้องที่ 2 โครงการดีเด่นในประเด็น อาหารและโภชนาการ ประกวดผลงาน จำนวน 3 กองทุนฯ .............................................. ............................................. ............................................. มอบรางวัลการประกวด

ห้องที่ 3 โครงการดีเด่นในประเด็น กิจกรรมทางกาย ประกวดผลงาน จำนวน 3 กองทุนฯ .............................................. ............................................. ............................................. มอบรางวัลการประกวด

ห้องที่ 4 โครงการดีเด่นในประเด็น ปัจจัยเสี่ยง เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด จำนวน 3 กองทุนฯ .............................................. ............................................. ............................................. มอบรางวัลการประกวด

15.00 น. – 15.30 น. สรุปผลกิจกรรม / เสร็จสิ้นกิจกรรม

หมายเหตุ  พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา ประมาณ 10.30 น.  15.00 น.                   กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ปูยู โดย ชัญญานุช12 มิถุนายน 2563
12
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ชัญญานุช
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน
ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กองทุนมีการจัดทำคำสั่งต่างๆถูกต้อง มีการจัดทำสรุปรายงานการประชุมครบถ้วน
2.มีการจัดทำแผนการเงิน และแผนงานโครงการครบถ้วน
3.สมทบเงินก่อนวันที่ 31 มีนาคม
4.มีการบันทึกแผน 5 แผนหลักครบถ้วน ขาดการพัฒนาโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณน้อย

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ปาล์มพัฒนา โดย สาวิตรี12 มิถุนายน 2563
12
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย สาวิตรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินและติดตามกองทุน อบต.ปาล์มพัฒนาโดยดูเอกสารและข้อมูลในระบบ โดยได้คะแนนดังนี้ โดยการประเมินผลและติดตามการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประเมินและติดตามกองทุน อบต.ปาล์มพัฒนาโดยดูเอกสารและข้อมูลในระบบ โดยได้คะแนนดังนี้ ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ  ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ ประเมินได้ 10คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ  ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน ประเมินได้ 5 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 15 คะแนน
รวม 95 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หน่วยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 2 คะแนน
รวม 18 คะแนน

แนะนำให้เร่งดำเนินงาน LTC ต่อเนื่อง ในปีงบ64 จัดทำแผนงานโครงการ แผนการใช้เงินให้ครบและทำโครงการประเภท4 และ ประเภท5 เสนอขออนุมัติกรรมการฯในการประชุมในเดือนกันยายน62 ปัญหาที่พบการดำเนินงานLTCขาดการต่อเนื่อง ไม่ได้ประชุมกรรมการเนื่องจากไม่มีการส่ง careplanจาก  CM

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.นิคมพัฒนา โดย สาวิตรี12 มิถุนายน 2563
12
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย สาวิตรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินและติดตามกองทุน อบต.นิคมพัฒนาโดยดูเอกสารและข้อมูลนระบบ โดยการประเมินผลและติดตามการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประเมินและติดตามกองทุน อบต.นิคมพัฒนาโดยดูเอกสารและข้อมูลนระบบ โดยได้คะแนนดังนี้ ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ ประเมินได้ 10คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 0 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน ประเมินได้ 10 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 0คะแนน
รวม 70 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 9 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หน่วยบริการ ได้ 15 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 10 คะแนน
รวม 44 คะแนน แนะนำการทำแผนงานโครง การการพัฒนาโครงการ การรายงานการรับ จ่ายเงินกองทุนในโปรแกรม และการขออนุมัติแผนงาน โครงการแผนการใช้จ่ายเงินของปี 64ในช่วงเดือนกันยายน 63

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.อุไดเจริญ โดย สาวิตรี12 มิถุนายน 2563
12
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย สาวิตรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินและติดตามกองทุน อบต.อุไดเจริญโดยดูเอกสารและข้อมูลนระบบ โดยการประเมินผลและติดตามการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ประเมินและติดตามกองทุน อบต.อุไดเจริญโดยดูเอกสารและข้อมูลนระบบ โดยได้คะแนนดังนี้ ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ ประเมินได้ 10คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน ประเมินได้ 5 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 15 คะแนน
รวม 95 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หน่วยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 2 คะแนน
รวม 18 คะแนน

-ข้อแนะนำ ให้เร่งดำเนินการ LTC

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ควนโพธิ์ โดยลิขิต อังศุภานิช12 มิถุนายน 2563
12
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย likit angsupanit
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

โดยการประเมินผลและติดตามการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ ๕ คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ  ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ ประเมินได้ 3 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ  ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน ประเมินได้ 5 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 0 คะแนน
รวม 73 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 (อบต.ควนโพธิ์ ยังไม่เข้าร่วมโครงการ) 1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ - คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ - คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หน่วยบริการ ได้ - คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ - คะแนน
รวม - คะแนน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.น้ำผุด โดยนายลิขิต อังศุภานิช12 มิถุนายน 2563
12
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย likit angsupanit
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

โดยการประเมินและติดตามการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 5 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ ๕ คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ ๕ คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ    ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 3 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ  ประเมินได้ 0 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ    ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 0 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน ประเมินได้ 10 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 10 คะแนน
รวม 76 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้  10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หน่วยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้  2 คะแนน
รวม 18 คะแนน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุนฯเทศบาลเมืองสตูล โดยลิขิต อังศุภานิช12 มิถุนายน 2563
12
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย likit angsupanit
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

โดยการประเมินผลและติดตามการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ ๕ คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ ๕ คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ    ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ  ประเมินได้ 1 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ    ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน ประเมินได้ 15 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 15 คะแนน
รวม 76 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้  10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 15 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หน่วยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้  10 คะแนน
รวม 38 คะแนน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.เกตรี โดยเกศวรางค์12 มิถุนายน 2563
12
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย เกศวรางค์ สารบัญ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลเกตรี ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารประกอบการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน    ประเมินได้ 10 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : ด้านเอกสารสรุปผลการดำเนินงานมีครบ แต่บันทึกผ่านโปรแกรม http://localfund.happynetwork.org/ ไม่ครบทุกโครงการ
1.3 กองทุนมีการบันทึกรายงานการเงินรายเดือน รายปี ของปีที่ผ่านมา และปิดโครงการครบถ้วนสมบูรณ์ ผ่านโปรแกรม http://localfund.happynetwork.org/    ประเมินได้ 5 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : รายงานการปิดโครงการผ่านโปรแกรม http://localfund.happynetwork.org/ บันทึกผ่านโปรแกรมไม่ครบ ยังมีโครงการของปีงบประมาณ 2561-2562 ที่ยังไม่บันทึกอีกหลายโครงการ

ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ-จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารกองทุน ประเมินได้ 5 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : 1. แบบฟอร์มแผนการเงินประจำปีของกองทุนฯ มีเป็นแบบฟอร์มที่กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกตรีสร้างขึ้นมาเอง ซึ่งไม่มีการลงลายมือชื่อของเลขานุการกองทุนฯ และประธานกรรมการกองทุนฯ แต่นำเอกสารดังกล่าวนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯเพื่อพิจารณาและมีการพิจารณาเห็นชอบในรายงานการประชุม 2. การจัดทำแผนโครงการประจำปี มีการจัดทำแผนโครงการประจำปี 7 แผนงาน คือ
-แผนงานบริหารจัดการกองทุนฯ - แผนงานปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ (สารเสพติด) และแผนงานสิ่งแวดล้อม
- แผนงานโรคเรื้อรัง -แผนงานอุบัติเหตุ -แผนงานเผชิญโรคระบาดและภัยพิบัติ -แผนงานกิจกรรมทางกาย ปัญหา อุปสรรคในการประเมิน แบบประเมินไม่ได้ระบุว่าจะต้องมีแผนงานครบหรือไม่ ระบุแค่ว่ามีแผนงาน ควรแก้ไขแบบประเมินให้ครอบคลุมมากขึ้น 2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ    ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 กองทุนประชุมกรรมการกองทุนเพื่ออนุมัติแผนงาน โครงการ กิจกรรมประจำปี
ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ  ประเมินได้ 10 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกตรีมีแผนสุขภาพ 2 แผนงาน จากทั้งหมดที่ต้องมี 4 แผนงานที่กำหนดไว้ในแบบประเมินข้อนี้ คือ แผนงานปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ (สารเสพติด) และมีการเบิกจ่ายเงินแล้ว ร้อยละ 70.96 2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ที่ได้รับการอนุมัติและเบิกจ่ายแล้ว  ประเมินได้ 10 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกตรีมีโครงการใน 2 แผนงานที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติจากคณะกรรมการและเบิกจ่ายแล้ว คือ โครงการในแผนงานกิจกรรมทางกาย และโครงการในแผนงานปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด 2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 10 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเกตรีมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD (เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) ที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติและเบิกจ่ายเงินแล้ว ส่วนโครงการพัฒนาการเด็กไม่มีในแผนงานและไม่มีโครงการเสนอรับการพิจารณาจากคณะกรรมการ รวมคะแนนทั้งหมดได้ 85 คะแนน
ปัญหาอุปสรรคในการประเมิน : แบบประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 ดังนี้ ข้อ 2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ-จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารกองทุน ข้อที่ได้คะแนน 0 คะแนน กำหนดไว้ว่า ไม่มีการจัดทำแผนการเงินประจำปี ในข้อที่กำหนดว่าได้ 3 คะแนน มีแผนข้อใดข้อหนึ่ง ดังนั้น หากกองทุนฯใดมีการจัดทำแผนโครงการแต่ไม่มีการจัดทำแผนการเงินประจำปี จะได้ 3 คะแนน หรือ 0 คะแนน ข้อเสนอแนะ : ข้อที่ได้ 0 คะแนน ควรกำหนดว่า ไม่มีทั้งสองข้อ ได้ 0 คะแนน ข้อ 2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ แบบประเมินไม่ชัดเจนเรื่องการให้คะแนน หลายกองทุนฯที่มีเฉพาะบางแผนงาน แต่สัดส่วนการให้คะแนนไม่กำหนดไว้ ข้อเสนอแนะ : ควรแก้ไขแบบประเมินให้ครอบคลุม และมีสัดส่วนการให้คะแนนที่ชัดเจนกว่านี้ เพราะข้อที่ให้ 0 คะแนน ระบุว่าไม่มีการเบิกจ่ายเงินกองทุนฯ แต่หัวข้อการประเมินเป็นการประเมินแผนสุขภาพตำบล และถ้าหากว่ากองทุนฯที่มีแผนงาน ไม่ครบ มีเพียง 3 แผนงาน ใน 5 แผนงาน ควรได้กี่คะแนน ข้อ 2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ที่ได้รับการอนุมัติและเบิกจ่ายแล้ว สัดส่วนการให้คะแนนไม่ชัดเจน ข้อ 2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก สัดส่วนการให้คะแนนไม่ชัดเจน

กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 องค์การบริหารส่วนตำบลเกตรีไม่ได้สมัครเข้าร่วมดำเนินงาน กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563

  1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
    2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3 คะแนน
    3.การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 3 คะแนน
    4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 2 คะแนน
    รวม 18 คะแนน

    ข้อเสนอแนะแบบประเมิน
  2. ควรแบ่งซอยย่อยการให้คะแนนการประเมินให้ละเอียดกว่านี้
  3. แบบประเมินข้อ 2.1 ประเมินแต่คำสั่งแต่งตั้งกรรมการกองทุน แต่ควรเพิ่มรายละเอียดการประเมินในประเด็นคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน คณะอนุกรรมการ คำสั่งการลงนามเบิกจ่าย ด้วย เพื่อความละเอียดมากกว่านี้
  4. แบบประเมินข้อ 2.4 พบว่า บางกองทุนมีวาระการประชุมอนุมัติโครงการ แต่ไม่มีการอนุมัติแผนงาน ควรมีการแยกย่อยประเด็นเพื่อสามารถให้คะแนนได้ชัดเจนขึ้น
  5. แบบประเมินข้อ 2.5 จำนวนร้อยละ ตามเกณฑ์ให้คำนวนจากฐานใด ตัวชี้วัดไม่บอกรายละเอียด
  6. แบบประเมินข้อ 2.6 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย
  7. แบบประเมินข้อ 2.7 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย
เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.นาทอน โดย กูดนัย ราเหม11 มิถุนายน 2563
11
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กูดนัย ราเหม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการดำเนินงานของกองทุนฯอบต.นาทอน ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ด้านที่ 1 สรุปผลการดำเนินงานปีที่ผ่านมา ด้านที่2 การดำเนินงานในปีปัจจุบัน และการดำเนินงานกองทุน LTC ปี 63

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน
ด้านที่ 1 สรุปผลการดำเนินงานปีที่ผ่านมา ได้คะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานปีปัจจุบัน      ได้คะแนน ุ60 คะแนน                       รวม    ได้คะแนน 90 คะแนน

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน เทศบาลตำบลทุ่งหว้า โดย กูดนัย ราเหม11 มิถุนายน 2563
11
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กูดนัย ราเหม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนฯ ตามแบบฟอร์มการประเมิน 2 ส่วน ด้านที่1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนปีปัจจุบัน และ การดำเนินงานกองทุน LTC ปี 63

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ด้านที่ 1 การดำเนินงานปีที่ผ่านมา ได้คะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงาน ปีปัจจุบัน ได้คะแนน 51 คะแนน                             รวมการประเมิน    81 คะแนน

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ทุ่งหว้า โดย กูดนัย ราเหม11 มิถุนายน 2563
11
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กูดนัย ราเหม
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงติดตามและประเมินการทำงานกองทุน อบต.ทุ่งหว้า ได้พูดคุยกับ ผอ.กองสาธารณสุข เจ้าพนักงานสาธารณสุข แนะนำการดำเนินงานตามประกาศฯ และได้ประเมินการดำเนินงานของกองทุน และ LTC

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการจากการพูดคุย -แนะนำในการบันทึกประชากรปี 64 และได้บันทึกประชากรเรียบร้อยแล้ว - การเบิกจ่ายเงินหลังจากสถาการณ์การการระบาดของไวรัส covid-19 ผลการประเมินการดำนินงานของกองทุน -ด้านที่ 1 การดำเนินงานปีที่ผ่านมา ได้คะแนน 30 คะแนน -ด้านที่ 2 การดำเนินงานปีปัจจุบัน ได้คะแนน 51 คะแนน                   รวม ได้คะแนน 81 คะแนน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน ทต.คลองขุด โดยเกศวรางค์11 มิถุนายน 2563
11
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย เกศวรางค์ สารบัญ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน  แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563  คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เทศบาลตำบลคลองขุด กิจกรรมที่ปฏิบัติ ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

ผลการประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เทศบาลตำบลคลองขุด ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารประกอบการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน    ประเมินได้ 10 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : ด้านเอกสารสรุปผลการดำเนินงานมีครบ แต่บันทึกผ่านโปรแกรม http://localfund.happynetwork.org/ ไม่ครบทุกโครงการ
1.3 กองทุนมีการบันทึกรายงานการเงินรายเดือน รายปี ของปีที่ผ่านมา และปิดโครงการครบถ้วนสมบูรณ์ ผ่านโปรแกรม http://localfund.happynetwork.org/    ประเมินได้ 10 คะแนน

ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ-จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารกองทุน ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ    ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 กองทุนประชุมกรรมการกองทุนเพื่ออนุมัติแผนงาน โครงการ กิจกรรมประจำปี
ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ  ประเมินได้ 10 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : กองทุนฯ มีแผนสุขภาพครบทุกแผนงาน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ที่ได้รับการอนุมัติและเบิกจ่ายแล้ว  ประเมินได้ 10 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : กองทุนฯมีโครงการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย, ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ มีการอนุมัติโครงการและเบิกจ่ายแล้ว 2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 15 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD (เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) ที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติและเบิกจ่ายเงินแล้ว มีโครงการพัฒนาการเด็กที่มีในแผนงานและเสนอรับการพิจารณาจากคณะกรรมการและเบิกจ่ายเงินแล้ว รวมคะแนนทั้งหมดได้ 95 คะแนน
ปัญหาอุปสรรคในการประเมิน : แบบประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 ดังนี้ ข้อ 2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ-จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารกองทุน ข้อที่ได้คะแนน 0 คะแนน กำหนดไว้ว่า ไม่มีการจัดทำแผนการเงินประจำปี ในข้อที่กำหนดว่าได้ 3 คะแนน มีแผนข้อใดข้อหนึ่ง ดังนั้น หากกองทุนฯใดมีการจัดทำแผนโครงการแต่ไม่มีการจัดทำแผนการเงินประจำปี จะได้ 3 คะแนน หรือ 0 คะแนน ข้อเสนอแนะ : ข้อที่ได้ 0 คะแนน ควรกำหนดว่า ไม่มีทั้งสองข้อ ได้ 0 คะแนน ข้อ 2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ แบบประเมินไม่ชัดเจนเรื่องการให้คะแนน หลายกองทุนฯที่มีเฉพาะบางแผนงาน แต่สัดส่วนการให้คะแนนไม่กำหนดไว้ ข้อเสนอแนะ : ควรแก้ไขแบบประเมินให้ครอบคลุม และมีสัดส่วนการให้คะแนนที่ชัดเจนกว่านี้ เพราะข้อที่ให้ 0 คะแนน ระบุว่าไม่มีการเบิกจ่ายเงินกองทุนฯ แต่หัวข้อการประเมินเป็นการประเมินแผนสุขภาพตำบล และถ้าหากว่ากองทุนฯที่มีแผนงาน ไม่ครบ มีเพียง 3 แผนงาน ใน 5 แผนงาน ควรได้กี่คะแนน ข้อ 2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ที่ได้รับการอนุมัติและเบิกจ่ายแล้ว สัดส่วนการให้คะแนนไม่ชัดเจน ข้อ 2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก สัดส่วนการให้คะแนนไม่ชัดเจน

กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) เทศบาลตำบลคลองขุด ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
ประเมินได้ 5 คะแนน คูณน้ำหนักของคะแนน 2 ได้ 10 คะแนน 2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan
มีการบันทึกเสนอรายชื่อแล้ว และได้ประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan แล้วเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2563 และอยู่ในขั้นตอนการจัดทำฎีกาการเบิกจ่ายงบประมาณให้ศูนย์ผู้สูงอายุ ซึ่งคาดว่าน่าจะแล้วเสร็จภายใน 20 วัน
ประเมินได้ 1 คะแนน คูณน้ำหนักของคะแนน 3 ได้ 3 คะแนน 3.การโอนงบประมาณให้หน่วยจัดบริการ (ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต/รพ.สต./รพ.อื่น ๆ )
ประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan แล้วเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2563 และอยู่ในขั้นตอนการจัดทำฎีกาการเบิกจ่ายงบประมาณให้ศูนย์ผู้สูงอายุ ซึ่งคาดว่าน่าจะแล้วเสร็จภายใน 20 วัน
ประเมินได้ 1 คะแนน คูณน้ำหนักของคะแนน 3 ได้ 3 คะแนน 4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน
ประเมินได้ 5 คะแนน คูณน้ำหนักของคะแนน 2 ได้ 10 คะแนน รวมคะแนน 26 คะแนน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ควนขัน โดยเกศวรางค์10 มิถุนายน 2563
10
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย เกศวรางค์ สารบัญ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรมที่ปฏิบัติ ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลควนขัน ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารประกอบการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน    ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 กองทุนมีการบันทึกรายงานการเงินรายเดือน รายปี ของปีที่ผ่านมา และปิดโครงการครบถ้วนสมบูรณ์ ผ่านโปรแกรม http://localfund.happynetwork.org/    ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 3 คะแนน
การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการกองทุนฯ เป็นคำสั่งแต่งตั้งโดย อบต.ควนขัน ไม่ได้เป็นคำสังที่แต่งตั้งโดยคณะกรรมการกองทุนฯ 2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ-จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารกองทุน ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ    ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 กองทุนประชุมกรรมการกองทุนเพื่ออนุมัติแผนงาน โครงการ กิจกรรมประจำปี
ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ  ประเมินได้ 10 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : กองทุนฯ มีแผนสุขภาพปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด ส่วนแผนงานสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย กลุ่มแรงงานนอกระบบไม่มีแผนงาน 2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ที่ได้รับการอนุมัติและเบิกจ่ายแล้ว  ประเมินได้ 15 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : มีการเบิกเงินแล้วร้อยละ 77.35
    กองทุนฯมีโครงการปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพยาเสพติด มีการอนุมัติโครงการและเบิกจ่ายแล้ว 2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 10 คะแนน
สิ่งที่ตรวจพบ : กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD (เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง) ที่ได้รับการพิจารณาอนุมัติและเบิกจ่ายเงินแล้ว ส่วนโครงการพัฒนาการเด็กไม่มี รวมคะแนนทั้งหมดได้ 93 คะแนน
ปัญหาอุปสรรคในการประเมิน : แบบประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 ดังนี้ ข้อ 2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ-จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารกองทุน ข้อที่ได้คะแนน 0 คะแนน กำหนดไว้ว่า ไม่มีการจัดทำแผนการเงินประจำปี ในข้อที่กำหนดว่าได้ 3 คะแนน มีแผนข้อใดข้อหนึ่ง ดังนั้น หากกองทุนฯใดมีการจัดทำแผนโครงการแต่ไม่มีการจัดทำแผนการเงินประจำปี จะได้ 3 คะแนน หรือ 0 คะแนน ข้อเสนอแนะ : ข้อที่ได้ 0 คะแนน ควรกำหนดว่า ไม่มีทั้งสองข้อ ได้ 0 คะแนน ข้อ 2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ แบบประเมินไม่ชัดเจนเรื่องการให้คะแนน หลายกองทุนฯที่มีเฉพาะบางแผนงาน แต่สัดส่วนการให้คะแนนไม่กำหนดไว้ ข้อเสนอแนะ : ควรแก้ไขแบบประเมินให้ครอบคลุม และมีสัดส่วนการให้คะแนนที่ชัดเจนกว่านี้ เพราะข้อที่ให้ 0 คะแนน ระบุว่าไม่มีการเบิกจ่ายเงินกองทุนฯ แต่หัวข้อการประเมินเป็นการประเมินแผนสุขภาพตำบล และถ้าหากว่ากองทุนฯที่มีแผนงาน ไม่ครบ มีเพียง 3 แผนงาน ใน 5 แผนงาน ควรได้กี่คะแนน ข้อ 2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ที่ได้รับการอนุมัติและเบิกจ่ายแล้ว สัดส่วนการให้คะแนนไม่ชัดเจน ข้อ 2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก สัดส่วนการให้คะแนนไม่ชัดเจน

กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) องค์การบริหารส่วนตำบลควนขัน ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
ประเมินได้ 5 คะแนน คูณน้ำหนักของคะแนน 2 ได้ 10 คะแนน 2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan
มีการประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan หลังจากได้รับงบประมาณไม่เกิน 30 วัน
ประเมินได้ 5 คะแนน คูณน้ำหนักของคะแนน 3 ได้ 15 คะแนน 3.การโอนงบประมาณให้หน่วยจัดบริการ (ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต/รพ.สต./รพ.อื่น ๆ )
ประเมินได้ 1 คะแนน คูณน้ำหนักของคะแนน 3 ได้ 3 คะแนน 4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน
ประเมินได้ 3 คะแนน คูณน้ำหนักของคะแนน 2 ได้ 6 คะแนน รวมคะแนน 34 คะแนน

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ท่าเรือ โดยสมนึก9 มิถุนายน 2563
9
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย สมนึก อาดตันตรา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ติดต่อประสานเข้าเยี่ยม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.การดำเนินงานในปีที่ผ่านมา มีเอกสารถูกต้อง ครบถ้วน มีสรุปรายงานผล ประเมินได้ 30 คะแนน
2.การดำเนินงานในปีปัจจุบัน แผนสุขภาพตำบลไม่ครบถ้วน ประเมินได้ 65 คะแนน รวม 95 คะแนน

การดำเนินงาน LTC มีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการ แต่ยังไม่ได้พิจารณาอนุมัติcareplan ประเมินได้13คะแนน
ได้ทำการแนะนำการจัดตั้งศูนย์เพื่อขับเคลื่อนงานต่อไป

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ตำมะลัง โดยชัญญานุช9 มิถุนายน 2563
9
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ชัญญานุช
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน
ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กองทุนมีการจัดทำคำสั่งต่างๆถูกต้อง มีการจัดทำสรุปรายงานการประชุมครบถ้วน ระบบจัดการเอกสารดีมาก แยกไว้อย่างเป็นระเบียบ ดูง่าย
2.มีการจัดทำแผนการเงิน และแผนงานโครงการครบถ้วน 3.สมทบเงินก่อนวันที่ 31 มีนาคม
4.ไม่มีการบันทึกแผน 5 แผนหลัก ขาดการพัฒนาโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณน้อย

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.แหลมสนโดยกัลยทรรศน์ ติ้งหวัง5 มิถุนายน 2563
5
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กัลยทรรศน์ ติ้งหวัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ติดตามหนุนเสริมการทำงานของกองทุนสุขภาพตำบลแหลมสน ตามแบบประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 ซึ่งแบบประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. การเมินกองทุนตำบลประกอบด้วย 2 ด้าน คือ
- สรุปผลการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
- การดำเนินงานกองทุนปีปัจจุบัน
2. การประเมินกองทุน LTC มีจำนวน 4 ข้อ คือ
- การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC
- การประชุมพิจารณาอนุมัติ CAREPLAN
- การโอนงบประมาณให้หน่วยจัดบริการ
- การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน
ตลอดจนให้คำแนะนำเจ้าหน้าที่กองทุนเพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพมากขึ้น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 5 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 0 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 0 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 0 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ประเมินได้ 0 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 10 คะแนน เนื่องจากยังไม่มีโครงการ
รวม 50 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 1 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 1 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 1 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 1 คะแนน
รวม 4 คะแนน

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.แป-ระ โดย สมนึก4 มิถุนายน 2563
4
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย สมนึก อาดตันตรา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประสานจนท.จัดเตรียมเอกสารข้อมูลรับการเยี่ยมติดตาม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน
1.การดำเนินงานในปีที่ผ่านมา มีการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารครบถ้วนและมรการสรุปผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 30 คะแนน
2.การดำเนินงานในปีปัจจุบัน การจัดทำแผนการเงินประจำปีไม่ถูกต้อง ครบถ้วน ประเมินได้ 68 คะแนน รวม 98 คะแนน

การดำเนินงานLTC มีแผนการดำเนินงาน careplan และดำเนินการตามแผน มีการเบิกจ่าย
แต่การประชุมพิจารณาล่าช้า โอนงบล่าช้า ประเมินได้ 23คะแนน

ประชุมทีมพี่เลี้ยงกองทุนระดับจังหวัดสตูล ครั้งที่ 44 มิถุนายน 2563
4
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวนิสากร บุญช่วย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

31 พฤษภาคม 2563
ประชุมพี่เลี้ยงกองทุนจังหวัดสตูล ณ ห้องประชุม อบต.ย่านซื่อ เวลา 13.00 - 16.30 น.
ประเด็นพูดคุย ดังนี้
สรุปเนื้อหารายละเอียดการประชุมจากเขต 12 ในระบบ ZOOM
1)ประเมินพี่เลี้ยงรายกองทุน  แบ่งเป็นงานกองทุนฯ และงาน LTC
- กำหนดให้พี่เลี้ยงลงประเมินรายกองทุนฯตามแบบฟอร์มประเมิน  และบันทึกใน google form  และบันทึกกิจกรรมในโครงการพี่เลี้ยงกองทุนฯ ภายใน 15 มิถุนายน 2563
- คำสั่งแต่งตั้งอนุกรรมการชุดต่างๆ  ใช้หัวคำสั่งเป็นโลโก้กองทุนฯ และคำสั่งกองทุน  นายกอปท. เป็นตำแหน่งประธานกรรมการกองทุนฯ
- แบบประเมินในข้อ 2.5 2.6 2.7  ว่ามีแผนสุขภาพตำบล ตามที่กำหนดหรือไม่  ถ้ามีไม่ครบทุกแผน แบ่งให้คะแนนตามความเหมาะสม และเขียนโน้ต ใน googleform ไว้
2) ประเมินรายอำเภอ  16 มิ.ย. – 15 ก.ค. 63 พี่เลี้ยง ควรดำเนินการ  ต้องการ
- กระตุ้นการทำงานกองทุนฯ(กองทุนตำบลและ LTC) และแนะนำการทำงานกองทุนฯกับ จนท.
- ประเมินผลให้คะแนน เพื่อนำมามอบรางวัลในเวทีกองทุน
- เขต จะจัดพัฒนาการถอดบทเรียน-ประเมินคุณค่าโครงการ เพื่อลงเตรียมพื้นที่ นำเอาผลงานเข้าประกวดเวที แต่จังหวัด
- จัดนำเสนอผลงานกองทุนฯ
- อยากให้เพิ่มประเมิน กิจกรรมดีๆ  ถอดบทเรียนกิจกรรมดีๆ บันทึกลงเว็บไซค์กองทุนฯ  และพี่เลี้ยงบักทึกลงโครงการพี่เลี้ยงด้วย
3) กิจกรรมประเมินความคุ้มค่าของโครงการ
- เขต 12 จัดอบรม พี่เลี้ยงในประเด็นการประเมินคุณค่าของโครงการผ่านเว็บไซค์กองทุนฯ
- ให้พี่เลี้ยงลงพื้นที่ช่วยกองทุนฯที่จะส่งเข้าประกวดประเมินคุ้นค่าของโครงการ เพื่อส่งประกวดผลงานวิชาการในหัวข้อที่ 4 (มีค่าจ้างพี่เลี้ยงในการลงถอดบทเรียนกับพื้นที่)
- การบันทึกผลการประเมินความคุ้มค่าของโครงการ จะปรากฏใน Mapping ซึ่งสามารถเปลี่ยนสีได้ขึ้นอยู่กับระดับความคุ้มค่า
4) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้รายจังหวัด  16 ก.ค. – 10 ส.ค. 63
- มีการมอบรางวัล โดยเขต 12 รับผิดชอบค่าใช้จ่ายให้ ได้แก่  ค่าสถานที่ อาหาร  กรรมการ  โล่รางวัล ประกาศนียบัตร  ส่วนค่าเดินทางแต่ละกองทุนฯเบิกจากประเภทที่ 4
- ช่วงเช้ามอบรางวัลผลการประเมินกองทุนระดับจังหวัด  เป็นโล่ ลำดับที่ 1-3  กองทุนดีเด่นระดับอำเภอๆละ 1 รางวัล เป็นประกาศนียบัตร
- ประกวดผลงานโปสเตอร์ (รูปแบบตามที่เขตกำหนด มีงบประมาณในการจัดทำให้ เป็นผลงานโครงการที่มีกิจกรรมดีๆ และประเมินคุณค่าของโครงการด้วย โดยจะมีการอบรมพี่เลี้ยงในการประเมินคุณค่าโครงการจากเขต 12 ในกิจกรรมข้อที่ 3 )  อันดับ 1 เป็นโปสเตอร์  อันดับ 2 3 เป็นประกาศนียบัตร
- ช่วงบ่ายจัดเวทีย่อย  มีหลายประเด่น  แต่ต้องมีห้อง LTC ด้วย  มีรางวัล  1 โล่ รางวัลที่ 2 3 เป็นประกาศนียบัตร
- กำหนดให้พี่เลี้ยงออกแบบเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เอง    สำรวจจำนวนคนเข้าร่วม งบประมาณที่ต้องใช้ ส่งให้เขตภายใน 31 พ.ค. 63
5) ประกาศกองทุนฯ ฉบับที่ 3
- ให้อำนาจประธานกรรมการกองทุนฯในการอนุมัติโครงการที่กรณีเกิดโรคติดต่อตาม พรบ.ควบคุมโรคติดต่อเท่านั้น  ซึ่งอาจจะเป็นโครงการ ประเภท 1 2 3 หรือ 5 ก็ได้
6) ให้พี่เลี้ยงลงติดตาม กองทุนฯที่มีการเบิกจ่ายน้อยกว่า ร้อยละ 10
- ได้แก่                    ติดตามให้ลงบันทึกโปรแกรมกองทุนฯให้เป็นปัจจุบันด้วย
7) การลงบันทึก ปชก. กลางปี 30  เมษายน 2563  และยอดสมทบจาก อปท.ในระบบ
- กรณี อปท. ที่สมทบมากกว่าเกณฑ์ที่กำหนด  เขตจะสามารถจัดสรรงบประมาณให้มากกว่ายอดประชากรที่แจ้งไว้ได้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สรุปประเด็นการจัดเวทีวิชาการ ระดับจังหวัด วันที่ 10 สิงหาคม 2563 จำนวน 180 คน ณ วิทยาลัยชุมชนสตูล และแบ่งเวทีย่อย 4 ห้องดังนี้
ห้องย่อยที่ 1 การดำเนินงาน LTC  รับผิดชอบโดย นายวีรพล  นายเจ๊ะอับดุลล่าห์  นางสาวเกศวรางค์ และนายสมนึก
ห้องย่อยที่ 2 โครงการเด่นประเด็นอาหารและโภชนาการ รับผิดชอบโดย กัลยทรรศน์  อนัญญา กูดานัย
ห้องย่อยที่ 3 โครงการเด่นประเด็นกิจกรรมทางกาย รับผิดชอบโดย นิสากร  สาวิตรี  ปลัดตรา และ สุทิน
ห้องย่อยที่ 4 โครงการเด่นประเด็นปัจจัยเสี่ยง (เหล้า บุหรี่ สุรา) รับผิดชอบโดย วรวิทย์  ชัญญานุช อุบดุลเลาะห์ ลิขิต

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน ทต.เจ๊ะบิลัง โดยเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน2 มิถุนายน 2563
2
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นายเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนฯปีปัจุจบัน ซึ่งพบว่าการดำเนิงานกองทุน ฯ ในปีที่ผ่าน สามารถดำเนินการได้ดี ครอบคลุมกิจกรรมทั้งการแต่งตั้งกรรมการ การประชุมการสรุปผลงานเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ สำหรับการดำเนินงานในปีปัจจุบันยังต้องเร่งรัดในเรื่องการประชุมอนุมัติโครงการ ที่ล่าช้าด้วยสถานการณ์โควิด 19 ตลอดจนความครอบคลุมในแผนงานหลัก 5 แผนงานและเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินในทันในปีงบประมาณ เพื่อประโยชน์ของพี่น้องประชาชนส่วนงาน LTC ก็เช่นเดียวกัน ต้องเร่งรัดนำ CP ขออนุมัติกรรมการเพื่อเบิกเงินไปใช้ในการดุแลผู้ป่วยติดเตียงต่อไป

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน
ด้านที่ 1 สรุปผลการดำเนินงานปีที่ผ่านมา ได้คะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานปีปัจจุบัน      ได้คะแนน 23 คะแนน                       รวม    ได้คะแนน 53 คะแนน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.เกาะสาหร่าย โดยชัญญานุช2 มิถุนายน 2563
2
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ชัญญานุช
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1.ประเมินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีที่ผ่านมา
โดยมี ข้อย่อย 3 ข้อ รวมคะแนน 30 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ปีปัจจุบัน โดยมี ข้อย่อย 7 ข้อ รวมคะแนน 70 คะแนน
ส่วนที่ 2 ประเมินงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีหัวข้อการประเมินกองทุน LTC จำนวน 4 หัวข้อ รวมคะแนน 50 คะแนน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.กองทุนมีการจัดทำคำสั่งต่างๆถูกต้อง มีการจัดทำสรุปรายงานการประชุมครบถ้วน ระบบจัดการเอกสารดีมาก แยกไว้อย่างเป็นระเบียบ ดูง่าย
2.ยังสรุปปิดโครงการในระบบไม่ครบ
3.ยังไม่มีแผนการเงิน และแผนงานโครงการประจำปี
4.มีการสมทบเงินหลังจากวันที่ 31 มีนาคม
5.ไม่มีการจัดทำแผนใน 5 ประเด็นหลัก และมีการเบิกจ่ายงบประมาณ ร้อยละ 58

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ท่าแพ โดย สมนึก1 มิถุนายน 2563
1
มิถุนายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย สมนึก อาดตันตรา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ประสานหน่วยงานรับการประเมิน
2ลงพื้นที่ประเมินตามแบบที่สปสช.กำหนด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน 1.การดำเนินการในปีที่ผ่านมามีการเบิกจ่ายถูกต้อง เอกสารครบถ้วนและมีการรายงานผลการดำเนินงาน ประเมินได้30คะแนน
2. การดำเนินงานในปีปัจจุบัน ยังมีแผนไม่ครบถ้วนและขาดโครงการที่สื่อถึงการดำเนินงานเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง ประเมินได้ 55 คะแนน รวม ได้ 85 คะแนน

การดำเนินงานLTC
มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ แต่ขาดการดำเนินงานต่อเนื่องไม่มีcareplan และยังไม่ได้จัดตั้งศูนย์
ประกอบกับ รพช.ขอไม่จัดบริการ ทำให้ไม่สามารถขับเคลื่อนได้ ประเมินได้ 10คะแนน
พี่เลี้ยงได้ทำการแนะนำให้เรียกประชุมคณะอนุกรรมการ เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานต่อไป

เยี่ยมติดตามและสนันสนุนการดำเนินงานกองทุนฯ อบต.วังประจัน ปี 63 โดย นายวรวิทย์ กาเส็มส๊ะ29 พฤษภาคม 2563
29
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย วรวิทย์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนฯปีปัจุจบัน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ ๕ คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ ๕ คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ    ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ  ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ    ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน ประเมินได้ 10 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 10 คะแนน
รวม 80 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 (ยังไม่สมัครเข้าร่วม ไม่ได้ประเมิน) 1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ - คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ - คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้- คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ - คะแนน
รวม  คะแนน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน เทศบาลตำบลกำแพง โดยเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน21 พฤษภาคม 2563
21
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นายเจ๊ะอับดุลล่าห์ แดหวัน
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนฯปีปัจุจบัน :ซึ่งพบว่าการดำเนินงานปี 2562 ทำงานได้ดีพอสมควร ส่วนที่ต้องดำเนินการเร่งรัดคือ การสรุปผลการดำเนินงานโครงการและรายงานการเงิน สำหรับในปีปัจจุบันเมื่อมีการแต่งตั้งกรรมการเรียบร้อยแล้วก็ต้องเร่งอนุมัติโครงการเพื่อให้สามารถดำเนินงานได้ทันในรอบปี ด้านแผนงานโครงการก็ต้องทำใ้ห้ครอบคลุมแผนงานหลัก 5 แผนงานด้วย ส่วนงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 มีการแต่งตั้งกรรมการแล้ว แต่ยังไม่ได้อนุมัติ CP เพื่อเบิกเงินไปให้กับ CG ดูแลผู้ป่วย ให้รีบดำเนินการเช่นกัน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน
ด้านที่ 1 สรุปผลการดำเนินงานปีที่ผ่านมา ได้คะแนน 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานปีปัจจุบัน      ได้คะแนน ุ23 คะแนน                       รวม    ได้คะแนน 55 คะแนน

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ฉลุง โดยนายอับดุลเลาะฮ์ นารอยี21 พฤษภาคม 2563
21
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย อับดุลเลาะฮ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการประสานเจ้าหน้าที่ ที่รับผิดชอบกองทุนหลักประกันสุภขาพ เพื่อนัดหมายในการลงพื้นที่ ใช้แบบประเมินเป็นตัวหลักในการลงประเมินครั้งนี้ สอบถามปัญหาและอุปสรรค์ในการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุภขาพ สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อนำข้อมูลมาประกอบในการประเมินในครั้งนี้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สิ่งที่ได้จากการลงประเมิน อบต.ฉลุง
คือปัญหาภายในองค์กร ในการบริหารจัดการกองทุน ไม่ว่าจะเป็นกรรมการเอง หรือผู้เสนอโครงการ และที่สำคัญเรื่องบุคลากรที่ไม่มี เนื่องจากมีการย้ายที่ทำงาน จึงทำให้ไม่มีผู้รับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง แต่ปัจจุบันประมาณสองเดือนที่ผ่านมามีเจ้่าหน้าที่บรรจุใหม่ และรับโอนย้าย 2 คน ในอนาคตคิดว่าสามารถดำเนินงานได้ดีกว่า 2 ปีที่ผ่านมา ผมได้ให้คำแนะนำในการบริหารงานกองทุนหรือการทำงานของเจ้าหน้าที่ให้สามารถดำเนินงานได้ดี โดยทุกคนจะต้องเข้าใจถึงประกาศของ สปสช เพื่อยึดหลักในการทำงานถือเป็นแนวปฏิบัติต่อไป

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ทุ่งนุ้ย โดยนายอับดุลเลาะฮ์ นารอยี21 พฤษภาคม 2563
21
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย อับดุลเลาะฮ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการประสานเจ้าหน้าที่ ที่รับผิดชอบกองทุนหลักประกันสุภขาพ เพื่อนัดหมายในการลงพื้นที่ ใช้แบบประเมินเป็นตัวหลักในการลงประเมินครั้งนี้ สอบถามปัญหาและอุปสรรค์ในการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุภขาพ สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อนำข้อมูลมาประกอบในการประเมินในครั้งนี้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการดำเนินงานดี มีระบบและผู้บริหารเข้าใจประกาศของกองทุนหลักประกันสุขาพสามารถรันงานได้ดี การอนุมัติโครงการในพื้นที่ไม่มีปัญหา คณะกรรมการเข้าใจระบบการทำงานดี งบประมาณประเภท 4 สามารถบริหารจัดการได้เยี่ยม มีการประชุมพิจาณาโครงการเป็นรอบๆ ที่ได้กำหนดไว้ ซึ้งประเด็นนี้ผมได้ให้คำแนะนำว่า ถ้าไม่อยากให้กรรมการเหนื่อยมากในการพิจารณาโครงการก็สามารถจัดประชุมเดือนละ 1 ครั้งก็ได้ เพื่อความรวดเร็วในการบริหารกองทุนต่อไป

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุนฯอบต.ควนกาหลง โดยนายอับดุบเลาะฮ์ นารอยี21 พฤษภาคม 2563
21
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย อับดุลเลาะฮ์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

มีการประสานเจ้าหน้าที่ ที่รับผิดชอบกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อนัดหมายในการลงพื้นที่ ใช้แบบประเมินเป็นตัวหลักในการลงประเมินครั้งนี้ สอบถามปัญหาและอุปสรรค์ในการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อนำข้อมูลมาประกอบในการประเมินในครั้งนี้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนกาหลง ดำเนินงานได้ดี เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 2-3 ปี ย้อนหลัง เนื่องจากมีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบงานประจำ โดยใช้งบประมาณประเภทที่ 4 ในการจ้างเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล จดสรุปการประชุม รวมถึงงานอ่านอื่นๆที่เกี่ยวข้องและได้รับมอบหมาย
-งาน LTC มีการเบิกจ่ายเพียง 1 ครั้ง ตั้งแต่สมัครเมื่อปี 2559 และมีการดำเนินงานต่อเนื่องเป็นระบบมีการตั้งคณะกรรมการ LTC เรียบร้อย
-สำหรับโครงการเกี่ยวกับ COVID มีการอนุมัตโครงการในพื้นที่เพื่อดำเนินงานป้องกัน และควบคุมโรคCOVID ในพื้นที่

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ป่าแก่บ่อหิน โดย ตรา เหมโคกน้อย20 พฤษภาคม 2563
20
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ตรา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงประเมินการดำเนินงานของกองทุนฯอบต.ป่าแก่บ่อหิน ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ด้านที่ 1 สรุปผลการดำเนินงานปีที่ผ่านมา ด้านที่2 การดำเนินงานในปีปัจจุบัน และการดำเนินงานกองทุน LTC ปี 63

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน ผลการประเมินได้ 25 คะแนน
มีการบันทึกรายงานการเงินรายเดือน รายปีไม่ครบ ขาดการรายงานบางรายการ ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน จากคะแนน 70 คะแนน ผลการประเมินได้ 55 คะแนน
สาเหตุเพราะ 1.ไม่มีการจัดทำแผนการรับ-จ่ายประจำปีและโครงการบริหารกองทุน
2.ไม่มีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงฯ 3.ไม่มีการเบิกจ่ายเงินกองทุน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 จากคะแนน 50 คะแนน ผลการประเมินได้ 18 คะแนน
เพราะไม่มีการประชุมพิจารณาอนุมัติ ไม่มีการโอนงบประมาณให้หน่วยบริการ ไม่มีการบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ทุ่งบุหลัง โดย ตรา เหมโคกน้อย20 พฤษภาคม 2563
20
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ตรา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงประเมินการดำเนินงานของกองทุนฯอบต.ป่าแก่บ่อหิน ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ด้านที่ 1 สรุปผลการดำเนินงานปีที่ผ่านมา ด้านที่2 การดำเนินงานในปีปัจจุบัน และการดำเนินงานกองทุน LTC ปี 63

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน ผลการประเมินได้ 25 คะแนน มีการบันทึกรายงานการเงินรายเดือน รายปีไม่ครบ ขาดการรายงานบางรายการ ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน จากคะแนน 70 คะแนน ผลการประเมินได้ 60 คะแนนสาเหตุเพราะ 1.ไม่มีการจัดทำแผนการรับ-จ่ายประจำปีและโครงการบริหารกองทุน 2.ไม่มีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงฯ ไม่มีการเบิกจ่ายเงินกองทุน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 จากคะแนน 50 คะแนน ผลการประเมินได้ 18 คะแนน เพราะ ไม่มีการประชุมพิจารณาอนุมัติ ไม่มีการโอนงบประมาณให้หน่วยบริการ ไม่มีการบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ปากน้ำ โดยกัลยทรรศน์ ติ้งหวัง20 พฤษภาคม 2563
20
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กัลยทรรศน์ ติ้งหวัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ติดตามหนุนเสริมการทำงานของกองทุนสุขภาพตำบลปากน้ำ ตามแบบประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ปีงบประมาณ 2563 ซึ่งแบบประเมินแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. การเมินกองทุนตำบลประกอบด้วย 2 ด้าน คือ
- สรุปผลการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
- การดำเนินงานกองทุนปีปัจจุบัน
2. การประเมินกองทุน LTC มีจำนวน 4 ข้อ คือ
- การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC
- การประชุมพิจารณาอนุมัติ CAREPLAN
- การโอนงบประมาณให้หน่วยจัดบริการ
- การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน
ตลอดจนให้คำแนะนำเจ้าหน้าที่กองทุนเพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพมากขึ้น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 5 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 5 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 0 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 0 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ประเมินได้ 0 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 0 คะแนน เนื่องจากยังไม่มีโครงการ
รวม 45 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 1 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 1 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 1 คะแนน
รวม 13 คะแนน

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ขอนคลาน โดย ตรา เหมโคกน้อย20 พฤษภาคม 2563
20
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย ตรา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่หนุนเสริมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน สอบถามทำแบบประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นพร้อมพูดคุยแนวทางการสนับสนุนโครงการให้กับหน่วยงานและให้คำแนะนำแก่ จนท.กองทุนตำบล

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

จากผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา คะแนน 30 คะแนน ได้ 30 คะแนน ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน จากคะแนน 70 คะแนน ผลการประเมินได้ 68 คะแนน สาเหตุไม่มีการจัดทำแบบฟอร์มแผนการเงินประจำปี ไม่มีโครงการประเด็นอาหารฯการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงและไม่มีการเบิกจ่ายเงินกองทุนในแผนงานประเด็นอาหารฯการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยง ในส่วนกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563 จากคะแนน 50 คะแนน ผลการประเมินได้ 10 คะแนน สาเหตุ ไม่มีเอกสารแต่งตั้งคณะกรรมการ มากกว่า 120 วันไม่มีการประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan มากกว่า 45 วันยังไม่มีการอนุมัติ Careplan และไม่มีการบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.กำแพง โดยอนัญญา แสะหลี19 พฤษภาคม 2563
19
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย อนัญญา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ลงหนุนเสริมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.กำแพง
  • สอบถามทำแบบประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
  • พูดคุยแนวทางการสนับสนุนโครงการให้กับหน่วยงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 8 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ประเมินได้ 13 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 0 คะแนน เนื่องจากยังไม่มีโครงการ
รวม 81 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 12 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 6 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 10 คะแนน
รวม 38 คะแนน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ละงู โดยอนัญญา แสะหลี18 พฤษภาคม 2563
18
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย อนัญญา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  • ลงเยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานให้กับเจ้าหน้าที่กองทุน
  • สอบถามทำแบบประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
  • พูดคุยแนวทางการสนับสนุนโครงการให้กับหน่วยงาน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 5 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ  ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ  ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 3 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ประเมินได้ 10 คะแนน เนื่องจากมีโครงการยาเสพติดเพียงโครงการเดียว 2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 0 คะแนน เนื่องจากยังไม่มีโครงการ รวม 68 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 2 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 2 คะแนน
รวม 10 คะแนน กองทุนยังไม่ได้ดำเนินการ แนะนำให้เร่งดำเนินการ

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.บ้านควน โดยนางสาวนิสากร บุญช่วย14 พฤษภาคม 2563
14
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวนิสากร บุญช่วย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนฯปีปัจุจบัน

และงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ    ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ  ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ    ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน ประเมินได้ 15 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 15 คะแนน
รวม 100 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3 คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 2 คะแนน
รวม 18 คะแนน

ข้อเสนอแนะแบบประเมิน
1. ควรแบ่งซอยย่อยการให้คะแนนการประเมินให้ละเอียดกว่านี้
2. แบบประเมินข้อ 2.1 ประเมินแต่คำสั่งแต่งตั้งกรรมการกองทุน แต่ควรเพิ่มรายละเอียดการประเมินในประเด็นคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน คณะอนุกรรมการ คำสั่งการลงนามเบิกจ่าย ด้วย เพื่อความละเอียดมากกว่านี้
3. แบบประเมินข้อ 2.4 พบว่า บางกองทุนมีวาระการประชุมอนุมัติโครงการ แต่ไม่มีการอนุมัติแผนงาน ควรมีการแยกย่อยประเด็นเพื่อสามารถให้คะแนนได้ชัดเจนขึ้น
4. ปบบประเมินข้อ 2.5 จำนวนร้อยละ ตามเกณฑ์ให้คำนวนจากฐานใด ตัวชี้วัดไม่บอกรายละเอียด
5. แบบประเมินข้อ 2.6 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย
6. แบบประเมินข้อ 2.7 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุนเทศบาลตำบลฉลุงโดยนางสาวนิสากร บุญช่วย13 พฤษภาคม 2563
13
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวนิสากร บุญช่วย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนฯปีปัจุจบัน และงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน  ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม  ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 3 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 3 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ    ประเมินได้ 50 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 6 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน  ประเมินได้ 10 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 10 คะแนน
รวม 72 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3 คะแนน
3.การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 2 คะแนน
รวม 18 คะแนน

ข้อเสนอแนะแบบประเมิน
1. ควรแบ่งซอยย่อยการให้คะแนนการประเมินให้ละเอียดกว่านี้
2. แบบประเมินข้อ 2.1 ประเมินแต่คำสั่งแต่งตั้งกรรมการกองทุน แต่ควรเพิ่มรายละเอียดการประเมินในประเด็นคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน คณะอนุกรรมการ คำสั่งการลงนามเบิกจ่าย ด้วย เพื่อความละเอียดมากกว่านี้
3. แบบประเมินข้อ 2.4 พบว่า บางกองทุนมีวาระการประชุมอนุมัติโครงการ แต่ไม่มีการอนุมัติแผนงาน ควรมีการแยกย่อยประเด็นเพื่อสามารถให้คะแนนได้ชัดเจนขึ้น
4. ปบบประเมินข้อ 2.5 จำนวนร้อยละ ตามเกณฑ์ให้คำนวนจากฐานใด ตัวชี้วัดไม่บอกรายละเอียด
5. แบบประเมินข้อ 2.6 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย
6. แบบประเมินข้อ 2.7 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.เจ๊ะบิลัง โดยนางสาวนิสากร บุญช่วย7 พฤษภาคม 2563
7
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวนิสากร บุญช่วย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนฯปีปัจุจบัน

และงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน  ประเมินได้ 10 คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม  ประเมินได้ 10 คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 0 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ    ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน  ประเมินได้ 15 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 15 คะแนน
รวม 90 คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563
1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ 10 คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3 คะแนน
3.การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 2 คะแนน
รวม 18 คะแนน

ข้อเสนอแนะแบบประเมิน
1. ควรแบ่งซอยย่อยการให้คะแนนการประเมินให้ละเอียดกว่านี้
2. แบบประเมินข้อ 2.1 ประเมินแต่คำสั่งแต่งตั้งกรรมการกองทุน แต่ควรเพิ่มรายละเอียดการประเมินในประเด็นคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน คณะอนุกรรมการ คำสั่งการลงนามเบิกจ่าย ด้วย เพื่อความละเอียดมากกว่านี้
3. แบบประเมินข้อ 2.4 พบว่า บางกองทุนมีวาระการประชุมอนุมัติโครงการ แต่ไม่มีการอนุมัติแผนงาน ควรมีการแยกย่อยประเด็นเพื่อสามารถให้คะแนนได้ชัดเจนขึ้น
4. ปบบประเมินข้อ 2.5 จำนวนร้อยละ ตามเกณฑ์ให้คำนวนจากฐานใด ตัวชี้วัดไม่บอกรายละเอียด
5. แบบประเมินข้อ 2.6 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย
6. แบบประเมินข้อ 2.7 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน อบต.ย่านซื่อ โดย นายวีรพล มรรคาเขต30 เมษายน 2563
30
เมษายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย วีรพล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ประเมิน กองทุนสุขภาพตำบลและกองทุน LTC ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนฯปีปัจุจบัน
และงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการรายงานผลการดำเนินการ มีการอนุมัตแผนงานโครงการ ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ 10 คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน  ประเมินได้ ๕ คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม  ประเมินได้ ๕ คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ    ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน  ประเมินได้ 10 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 10 คะแนน
รวม ๘๐  คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563  (ยังไม่สมัครเข้าร่วม ไม่ได้ประเมิน) 1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้  10  คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3  คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 3  คะแนน
รวม 19  คะแนน

ข้อเสนอแนะแบบประเมิน
1. ควรแบ่งซอยย่อยการให้คะแนนการประเมินให้ละเอียดกว่านี้
2. แบบประเมินข้อ 2.1 ประเมินแต่คำสั่งแต่งตั้งกรรมการกองทุน แต่ควรเพิ่มรายละเอียดการประเมินในประเด็นคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน คณะอนุกรรมการ คำสั่งการลงนามเบิกจ่าย ด้วย เพื่อความละเอียดมากกว่านี้
3. แบบประเมินข้อ 2.4 พบว่า บางกองทุนมีวาระการประชุมอนุมัติโครงการ แต่ไม่มีการอนุมัติแผนงาน ควรมีการแยกย่อยประเด็นเพื่อสามารถให้คะแนนได้ชัดเจนขึ้น
4. ปบบประเมินข้อ 2.5 จำนวนร้อยละ ตามเกณฑ์ให้คำนวนจากฐานใด ตัวชี้วัดไม่บอกรายละเอียด
5. แบบประเมินข้อ 2.6 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย
6. แบบประเมินข้อ 2.7 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย

เยี่ยมติดตามและและสนับสนุนการทำงานกองทุน เทศบาลตำบลควนโดน โดย นายวีรพล มรรคาเขต28 เมษายน 2563
28
เมษายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย วีรพล
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ลงพื้นที่ติดตามแผนงานโครงการ ประเมินกองทุนฯ ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนฯปีปัจุจบัน
และงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ ๕ คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน  ประเมินได้ ๕ คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม  ประเมินได้ ๕ คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 3 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ    ประเมินได้ 0 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน  ประเมินได้ 10 คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 10 คะแนน
รวม ๘๐  คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563  (ยังไม่สมัครเข้าร่วม ไม่ได้ประเมิน) 1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้  10  คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ 3  คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ 3 คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ 2  คะแนน
รวม  คะแนน

ข้อเสนอแนะแบบประเมิน
1. ควรแบ่งซอยย่อยการให้คะแนนการประเมินให้ละเอียดกว่านี้
2. แบบประเมินข้อ 2.1 ประเมินแต่คำสั่งแต่งตั้งกรรมการกองทุน แต่ควรเพิ่มรายละเอียดการประเมินในประเด็นคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน คณะอนุกรรมการ คำสั่งการลงนามเบิกจ่าย ด้วย เพื่อความละเอียดมากกว่านี้
3. แบบประเมินข้อ 2.4 พบว่า บางกองทุนมีวาระการประชุมอนุมัติโครงการ แต่ไม่มีการอนุมัติแผนงาน ควรมีการแยกย่อยประเด็นเพื่อสามารถให้คะแนนได้ชัดเจนขึ้น
4. ปบบประเมินข้อ 2.5 จำนวนร้อยละ ตามเกณฑ์ให้คำนวนจากฐานใด ตัวชี้วัดไม่บอกรายละเอียด
5. แบบประเมินข้อ 2.6 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย
6. แบบประเมินข้อ 2.7 แผนสุขภาพที่กำหนดให้ ควรมีสัดส่วนการให้คะแนนแยกออกแต่ละประเด็น และนำจำนวนโครงการมาเป็นเกณฑ์ในการให้คะแนนด้วย

ประชุมทีมพี่เลี้ยงกองทุนระดับจังหวัดสตูล ครั้งที่ 322 กุมภาพันธ์ 2563
22
กุมภาพันธ์ 2563รายงานจากพื้นที่ โดย นางสาวนิสากร บุญช่วย
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ติดตามผลการดำเนินงานของพี่เลี้ยงในการประเมินรายกองทุนฯ
ประสานการดำเนินงานตำบลสุขภาวะ
พูดคุยประเด็นการพัฒนาโครงการให้มีคุณภาพตามแนวทาง สสส. ได้แก่ กลไกข้อมูล คน กติกา สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงาน การถอดบทเรียน นัดประชุมพี่เลี้ยงเพื่อพัฒนาโครงการเป็นชุดโมเดล

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

พี่เลี้ยงกองทุนฯ วางแผนลงประเมินติดตามรายกองทุนฯ ในช่วงเดือน มีนาคม 2563และบันทึกผลลงในระบบ ภายในันที่ 31 มีนาคม 2563

เยี่ยมติดตามแผนงานโครงการ กองทุนฯ อบต.ควนสตอ โดย นายวรวิทย์ กาเส็มส๊ะ14 มกราคม 2563
14
มกราคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย วรวิทย์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนฯปีปัจุจบัน

และงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ ๑๐ คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน  ประเมินได้ ๕ คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม  ประเมินได้ ๕ คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 5 คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ 5 คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ    ประเมินได้ 10 คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ 10 คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ 10 คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน  ประเมินได้ 1๐ คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ 1๐ คะแนน
รวม ๗๕  คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563  (ยังไม่สมัครเข้าร่วม ไม่ได้ประเมิน) 1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้ ๑๐  คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้  ๖ คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ ๔ คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้  ๖ คะแนน
รวม ๒๖  คะแนน

เยี่ยมติดตามและสนับสนุนการดเนินการ กองทุนฯ อบต.ควนโดน โดย นายวรวิทย์ กาเส็มส๊ะ6 มกราคม 2563
6
มกราคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย วรวิทย์
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประเมินการทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ ตามแบบฟอร์มการประเมิน แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ งานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนฯปีที่ผ่านมา
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุนฯปีปัจุจบัน

และงานกองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่
ด้านที่ 1 สรุปการดำเนินงานกองทุนที่ผ่านมา
1.1 ความครบถ้วน ถูกต้องของเอกสารการเบิกจ่าย ประเมินได้ ๑๐ คะแนน
1.2 ความครบถ้วนของเอกสารผลการดำเนินงาน  ประเมินได้ ๕ คะแนน
1.3 การส่งรายงานการเงิน และรายงานกิจกรรม  ประเมินได้ ๕ คะแนน
ด้านที่ 2 การดำเนินงานกองทุน ปีปัจจุบัน
2.1 การแต่งตั้งกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ ๕ คะแนน
2.2 การจัดทำแผนการเงิน รับ จ่าย ประจำปีและโครงการบริหารจัดการ ประเมินได้ ๕ คะแนน
2.3 การสมทบเงินของ อปท. ให้กองทุนฯ    ประเมินได้ ๑๐ คะแนน
2.4 การประชุมกรรมการกองทุนฯ      ประเมินได้ ๑๐ คะแนน
2.5 กองทุนมีการทำแผนสุขภาพตำบลในประเด็นอาหารและโภชนาการ การเพิ่มการเคลื่อนไหวทางกาย ปัจจัยเสี่ยงสุขภาพเรื่องยาเสพติด กลุ่มแรงงานนอกระบบ ประเมินได้ ๕ คะแนน
2.6 กองทุนฯมีโครงการตามข้อ 2.5 ครบทุกแผน  ประเมินได้ ๑๐ คะแนน
2.7 กองทุนมีโครงการโรคเรื้อรัง NCD และเกี่ยวกับพัฒนาการเด็ก ประเมินได้ ๑๐ คะแนน
รวม ๗๕  คะแนน
กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ปีงบประมาณ 2563  (ยังไม่สมัครเข้าร่วม ไม่ได้ประเมิน) 1. การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ LTC ได้  ๑๐  คะแนน
2.การประชุมพิจารณาอนุมัติ Careplan ได้ ๓  คะแนน
3. การโอนงบประมาณให้หนาวยบริการ ได้ ๓คะแนน
4.การบันทึก ADL เมื่อครบ 9 เดือน ได้ ๓  คะแนน
รวม ๑๙  คะแนน

ข้อเสนอแนะแบบประเมิน
1. ควรแบ่งซอยย่อยการให้คะแนนการประเมินให้ละเอียดกว่านี้
2. แบบประเมินข้อ 2.1 ประเมินแต่คำสั่งแต่งตั้งกรรมการกองทุน แต่ควรเพิ่มรายละเอียดการประเมินในประเด็นคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงาน คณะอนุกรรมการ คำสั่งการลงนามเบิกจ่าย ด้วย เพื่อความละเอียดมากกว่านี้

ประชุมทีมพี่เลี้ยงกองทุนระดับจังหวัดสตูล ครั้งที่ 224 ธันวาคม 2562
24
ธันวาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย อนัญญา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เริ่มประชุมเวลา 13.00 น. โดย นายตรา  เหมโคกน้อยชี้แจงวัตถุประสงค์การขับเคลื่อนการดำเนินงาของพี่เลี้ยงโครงการกองทุนในพื้นที่จังหวัดสตูล ชี้แจงโครงการบูรณาการขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะและพัฒนากลไกสุขภาวะในระดับพื้นที่จังหวัดสตูล โดยนางสาวิตรี  อนันตะพงษ์ ผู้ประสานงานโครงการ ซึ่งประกอบด้วย 10 กองทุนนำร่อง ของอำเภอละงู 7 กองทุน อำเภอควนกาหลง 3 กองทุน ประกอบด้วย 5 แผนงานหลักคือ
1. แผนงานโภชนาการ 2. ผู้สูงอายุ 3. กิจกรรมทางกาย 4. ยาเสพติดบุหรี่เหล้า 5. สิ่งแวดล้อม งบประมาณที่สนับสนุน 108,000 บาท กิจกรรมที่ดำเนินการ 1. การ coaching ทีมระดับพื้นที่ ให้สามารถสนับสนุนผู้เสนอโครงการ ในการจัดทำแผน การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการติดตามโครงการ  ทั้งในขั้นตอนการจัดทำแผนกองทุนตำบลฯ พัฒนาโครงการและการติดตาม 2. การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาแผนและข้อเสนอโครงการ  (ทีมพี่เลี้ยงลงพื้นที่/จัดประชุมในพื้นที่ พชอ.) 3. การติดตามสนับสนุนการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ อย่างน้อย 3 ครั้งต่อ พชอ. 4. การ coaching ทีมระดับเขต ให้สามารถสนับสนุนการจัดทำแผน  การพัฒนาข้อเสนอโครงการ และการใช้ระบบติดตามและประเมินผลโครงการ
ชี้แจงกำหนดการวันที่ 26 ธ.ค. 62  ซึ่งเป็นการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนและการพัฒนาโครงการกองทุนนำร่องจังหวัดสตูล ครั้งที่ 1 ณ ครูดา ล่องแก่ง อ.ละงู จ.สตูล ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 35 คน จาก กองทุนนำร่อง 10 กองทุน และพี่เลี้ยงกองทุนจำนวน 16 คน
รายละเอียดกำหนดการ เริ่มประชุมเวลา 08.30 น. ลงทะเบียน ชี้แจงวัตถุประสงค์เป้าหมายโครงการโดยผู้ประสานงานโครงการ ต่อด้วย การบรรยายเชิงปฏิบัติการการทำแผนสุขภาพตำบล ผ่านเวบไซค์กองทุนตำบล โดยนางสาวนิสากร บุญช่วยและนางเกศวรางค์  สารบัญ ดำเนินการจนเสร็จสิ้นกระบวนการได้โครงการ และแลกเปลี่ยนปัญหาอุปสรรค ตอบข้อซักถามก็เสร็จกระบวนการ นายตรา  เหมโคกน้อย : การทำงานของพี่เลี้ยงตอนนี้มีหลายประเด็นที่เข้ามาและงานตามภารกิจก็มีมากอยากให้มีการจัดทำ นางสาวิตรี  อนันตะพงษ์ รับที่จะไปดำเนินการทำปฏิทินการปฏิบัติงานของพี่เลี้ยง นางสาวนิสากร  บุญช่วย : นำเสนอแผนงานโครงการพี่เลี้ยงกองทุน กิจกรรมที่ 1 ประชุมพี่เลี้ยงกองทุนอย่างน้อย 3 ครั้ง กิจกรรมที่ 2 ประเมินและติดตามกองทุนรายกองทุนจำนวน 41 กองทุน พี่เลี้ยง 15 คน กิจกรรมที่ 3 นิเทศกองทุนระดับอำเภอจำนวน 3 โซน คือ โซนอำเภอเมือง โซนอำเภอควนกาหลง มะนัง ท่าแพ ควนโดน และโซนอำเภอละงู ทุ่งหว้า ซึ่งในการลงพื้นที่ติดตามกองทุนจะอยู่ในช่วง ก.พ. มี.ค. และช่วงที่ 2 เดือน มิ.ย. 63 โดยให้ประเมินตามแบบประเมินที่ สปสช.ได้ทำมาให้ และขอให้พี่เลี้ยงทุกกองทุนนำแผนแรงงานนอกระบบไปคุยกับกองทุนด้วยเนื่องจาก ที่ได้พูดคุยกันไว้เรามีข้อตกลงกันว่าจังหวัดสตูลจะทำทุกแผนงานแต่ไม่เข้มข้นจะทำเข้มข้นเฉพาะกองทุนนำร่อง โดยของแรงงานนอกระบบมีจำนวน 20 กองทุน ของตำบลสุขภาวะ 10 กองทุน
ประชุมครั้งต่อไปพี่เลี้ยงมาร่วมกันออกแบบรายละเอียดประเมินระดับอำเภอ....

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
- จัดกิจกรรมวันที่ 24 ธ.ค. 62 ณ ร้านวังคุย อ.ท่าแพ จ.สตูล มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 12 คน เป็นการประชุมเตรียมงานของพี่เลี้ยงกองทุนและร่วมวางแผนการขับเคลื่อนการทำงานในปี 63 ผลลัพธ์
- ได้พูดคุยทำความเข้าใจการทำงานร่วมกันและมีความเข้าใจในการทำงานที่เท่าเทียมกัน
- ได้วางบทบาทของพี่เลี้ยงแต่ละคน
- ได้มีการมอบหมายให้พี่เลี้ยงจัดทำปฏิทินงานของทีมพี่เลี้ยงจังหวัดสตูลที่มีภาระงานกองทุนเพิ่มขึ้น

ประชุมทีมพี่เลี้ยงกองทุนฯระดับจังหวัดสตูล ครั้งที่ 116 ธันวาคม 2562
16
ธันวาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย อนัญญา
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ
          1.1 ในวันที่ 3 - 4 ธ.ค. 62 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 12 สงขลา จัดอบรมพี่เลี้ยง 4 จังหวัด ได้แก่ พัทลุง สงขลา ตรัง สตูล เพื่อพัฒนาศักยภาพพี่เลี้ยงในการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2563 ณ โรงแรมคริสตัลหาดใหญ่ บรรยายโดยทีมจากสปสช.เขต 12 สงขลา เรื่องทิศทางการทำงานกองทุน เป้าหมายเชิงผลลัพธ์  กองทุนตำบล และ LTC บทบาทพี่เลี้ยงต่อกองทุนฯการป้อนแผนสุขภาพ พัฒนาโครงการ และการลงแผนทำงานพี่เลี้ยงด้วย และการบรรยายโดยตัวแทนทีมพี่เลี้ยง ดังต่อไปนี้ • สงขลา- รับผิดชอบการจัดทำแผนสุขภาพ แผนการเงิน โครงการด้านสุขภาพ • พัทลุง-ประกาศฯกองทุนฯ • สตูล- การใช้โปรแกรมบริหารงานกองทุนฯ • ตรัง- การบริหารจัดการกองทุน LTC มติที่ประชุม...........ทราบ...........

ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว
มติที่ประชุม...........ไม่มี...........

ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเสนอเพื่อทราบ
          3.1 รายชื่อพี่เลี้ยงกองทุนแต่ละจังหวัด และการแต่งตั้งปี 63 โดยสปสช. เขต 12 สงขลาเป็นผู้แต่งตั้ง           3.2 บทบาทและหน้าที่คณะทำงานระดับจังหวัด (พี่เลี้ยง) ปี63 • สนับสนุนกองทุน (coaching)
• แผนสุขภาพตำบล 16 ประเด็น • พัฒนาโครงการที่ดี • ประเมินติดตามผลโครงการ • การประเมินกองทุน แก้ไขปัญหา บันทึกผลการประเมินและการลงสนับสนุนกองทุนของพี่เลี้ยงผ่านเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล มติที่ประชุม......ทราบ..........

ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา
          4.1 ทีมพี่เลี้ยงจังหวัดสตูล ปี 2563 มีจำนวนทั้งหมด 15 คน ประกอบด้วย
ลำดับ ชื่อ-สกุล หน่วยงาน อำเภอ จังหวัด 1. นายตรา  เหมโคกน้อย อบต.ปากน้ำ ละงู สตูล 2. นายสมนึก  อาดตันตรา อบต.แป-ระ ท่าแพ สตูล 3. นายวรวิทย์  กาเส็มส๊ะ อบต.ย่านซื่อ ควนโดน สตูล 4. นางสาวชัญญานุช  พุ่มพวง อบต.ละงู ละงู สตูล 5. นางสาวสวิตตรี  อนันตะพงษ์ อบต.อุใดเจริญ ควนกาหลง สตูล 6. นายอับดุลเลาะฮ์  นารอยี อบต.ควนกาหลง ควนกาหลง สตูล 7. นายเจ๊ะอับดุลล่าห์  แดหวัน เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ละงู สตูล 8. นายวีรพล  มรรคาเขต รพ.สต.ย่านซื่อ ควนโดน สตูล 9. นายลิขิต  อังศุภานิช อบต.กำแพง ละงู สตูล 10. นางเกศวรางค์  สารบัญ ทต.คลองขุด เมืองสตูล สตูล 11. นางสาวอนัญญา  แสะหลี ศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพฯ ละงู สตูล 12. นางสาวนิสากร  บุญช่วย อบต.บ้านควน เมืองสตูล สตูล 13. นายกูดนัย  ราเหม อบต.นาทอน ทุ่งหว้า สตูล 14. นายสุทิน  หมูดเอียด อบต.กำแพง ละงู สตูล 15. นางกัลยทรรศน์  ติ้งหวัง หน่วยรับเรื่องร้องเรียน 50(5) ละงู สตูล มติที่ประชุม........ทราบ..........

          4.2 การจัดทีม และการแบ่งพื้นที่รวมทั้งงานต่าง ๆ             - ให้เลขาฯพี่เลี้ยงเป็นผู้จัดการระบบบนโปรแกรมออนไลน์ในโครงการของพี่เลี้ยง (manager programs)             - มีการแบ่งพื้นที่การทำงานเป็น 7 อำเภอ ประกอบด้วย นางเกศวรางค์  สารบัญ รับผิดชอบ 3 กองทุนประกอบด้วย 1. อบต.เกตรี 2. เทศบาลตำบลคลองขุด 3. อบต.ควนขัน นางสาวชัญญานุช  พุ่มพวง รับผิดชอบ 3 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.เกาะสาหร่าย 2. อบต.ตำมะลัง 3. อบต.ปูยู นายลิขิต  อังศุภานิช รับผิดชอบ 3 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.ควนโพธิ์ 2. ทต.เมืองสตูล 3. อบต.น้ำผุด นายอับดุลเลาะฮ์  นารอยี รับผิดชอบ 3 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.ทุ่งนุ้ย 2. อบต.ควนกาหลง 3. อบต.ฉลุง นางสาวนิสากร  บุญช่วย รับผิดชอบ 3 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.เจ๊ะบิลัง 2. ทต.ฉลุง 3. อบต.บ้านควน นางกัลยทรรศน์  ติ้งหวัง รับผิดชอบ 2 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.ปากน้ำ 2. อบต.แหลมสน นายวีรพล  มรรคาเขต รับผิดชอบ 2 กองทุน ประกอบด้วย 1. ทต.ควนโดน 2. อบต.ย่านซื่อ นายวรวิทย์  กาเส็มส๊ะ รับผิดชอบ 3 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.ควนโดน 2. อบต.ควนสตอ 3. อบต.วังประจัน นางสาวิตรี  อนันตะพงษ์ รับผิดชอบ 3 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.อุใดเจริญ 2. อบต.นิคมพัฒนา 3. อบต.ปาล์มพัฒนา นางสาวอนัญญา  แสะหลี รับผิดชอบ 2 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.ละงู 2. อบต.กำแพง

นายตรา  เหมโคกน้อย รับผิดชอบ 3 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.ขอนคลาน 2. อบต.ทุ่งบุหลัง 3. อบต.ป่าแก่บ่อหิน นายกูดนัย  ราเหม รับผิดชอบ 3 กองทุน ประกอบด้วย 1. ทต.ทุ่งหว้า 2. อบต.ทุ่งหว้า 3. อบต.นาทอน นายสุทิน  หมูดเอียด รับผิดชอบ 3 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.ตันหยงโป 2. อบต.เขาขาว 3. อบต.สาคร นายสมนึก  อาดตันตรา รับผิดชอบ 3 กองทุน ประกอบด้วย 1. อบต.ท่าแพ 2. อบต.ท่าเรือ 3. อบต.แป-ระ นายเจ๊ะอับดุลล่าห์  แดหวัน รับผิดชอบ 2 กองทุน ประกอบด้วย 1. ทต.กำแพง 2. ทต.เจ๊ะบิลัง

มติที่ประชุม........รับทราบ..........           4.3 การกำหนดแผนปฏิบัติการโครงการติดตามและสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบล LTC และกองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพระดับจังหวัดผ่านกลไกพี่เลี้ยง 3 กองทุน จังหวัดสตูล ปี 2563 ดังนี้ • การประชุมพี่เลี้ยง จำนวน 4 ครั้ง งบประมาณ 20,000 บาท • ประเมินติดตามผลโครงการกองทุน (ให้พี่เลี้ยงทุกคนวางแผนกำหนดวันเดือนปีสถานที่ที่จะลงเยี่ยมกองทุนฯที่รับผิดชอบ บันทึกลงโปรแกรม) • ติดตามประเมินระดับอำเภอ • เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับจังหวัด มติที่ประชุม......ทราบ......

ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ
..................ไม่มี...............

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผลผลิต
- จัดกิจกรรมวันที่ 16 ธ.ค. 62 ณ ห้องประชุมโรงแรมคริสตัน อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน
ผลลัพธ์
- ทีมพี่เลี้ยงมีความรู้ความเข้าใจเรื่องระเบียบกองทุนและได้มีการวางแผนงานและแบ่งกองทุนในความรับผิดชอบให้พี่เลี้ยงแต่ละท่าน