กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน ”
โรงเรียนบ้านไชยภักดี ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางราตรีผ่องเเผ้ว




ชื่อโครงการ โครงการอบรมการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านไชยภักดี ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1520-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 พฤษภาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านไชยภักดี ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านไชยภักดี ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1520-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 พฤษภาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อทางอาหารและน้ำเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ในแต่ละปีมีรายงานผู้ป่วยตลอดทั้งปี ส่วนใหญ่มีการระบาดเป็นวงกว้างทำให้มีผู้ป่วยจำนวนมาก และอาการของโรคอาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น ไตวาย หรือถึงแก่ชีวิตได้ โดยเฉพาะในเด็กเล็กและผู้สูงอายุนอกจากนี้ยังเป็นสาเหตุที่สำคัญของการใช้ยาอย่างไม่เหมาะสม โดยเฉพาะยาต้านจุลชีพ ทำให้มีการเสียค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็นและยังนำไปสู่การเกิดเชื้อจุลชีพดื้อยา สาเหตุมักเกิดจากสารพิษหรือเชื้อโรค ซึ่งอาจจะมีอยู่ตั้งแต่แรกในอาหาร น้ำ หรือปนเปื้อนภายหลังจากสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของสุขอนามัยส่วนบุคคล ผู้ที่ป่วยเป็นโรคดังกล่าวสามารถแพร่เชื้อได้ทางอุจจาระ และหากเป็นผู้ประกอบอาหาร หรือพนักงานเสิร์ฟอาหารจะมีโอกาสแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้มาก ซึ่งโรคติดต่อทางอาหารและน้ำที่เป็นปัญหาสำคัญที่ควรเร่งรัดดำเนินการ ได้แก่ โรคอาหารเป็นพิษ อหิวาตกโรค และโรคอุจาระร่วงเฉียบพลัน
โรคอาหารเป็นพิษนั้น เป็นโรคที่อยู่ในระบบเฝ้าระวังของสำนักระบาดวิทยา และมีอัตราป่วยเป็นอันดับต้นๆ ของโรคที่อยู่ในระบบเฝ้าระวัง จากข้อมูล รง.506 ของสำนักระบาดวิทยา ย้อนหลัง 10 ปี (ปี พ.ศ. 2548 – 2557) การเกิดเหตุการณ์การระบาดด้วยโรคอาหารเป็นพิษ มักเกิดเป็นกลุ่มก้อนใหญ่โดยเกิดขึ้นกับนักเรียนสูงสุด ทั้งนี้เกิดจากอาหารและนมในโรงเรียน รวมถึงกิจกรรมในการเข้าค่าย ทัศนศึกษา จึงมุ่งเน้นดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคดังกล่าวในโรงเรียนเป็นหลัก ส่วนอหิวาตกโรค เป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงและสามารถระบาดได้อย่างรวดเร็ว แหล่งที่เกิดโรคมักเกิดในชุมชนที่อยู่กันอย่างหนาแน่น และในพื้นที่ที่มีการสุขาภิบาลไม่ดีไม่มีน้ำสะอาดใช้อย่างเพียงพอ ไม่มีส้วมที่ถูกสุขลักษณะ ดังนั้น การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคจึงควรให้ความสำคัญในเรื่องของการเฝ้าระวังป้องกันโรคในภาวะปกติ และการควบคุมโรคในภาวะที่มีการระบาด เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน
  2. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุม โรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน
  3. เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาปลอดจากโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 300
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน 2.นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุม โรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน 3.นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาปลอดจากโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคอาหารเป็นพิษ และการดูแลรักษาเบื้องต้น

    วันที่ 22 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน 2.นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุม โรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน 3.นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาปลอดจากโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน

     

    300 300

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน และโรคชนิดอื่น ๆ ที่มักพบในเด็กวัยเรียน 2.นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุม โรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน 3.นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาปลอดจากโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุม โรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาปลอดจากโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 300
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน (2) เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุม โรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน (3) เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาปลอดจากโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมการป้องกัน ควบคุมโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1520-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางราตรีผ่องเเผ้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด