กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและรักษาโรคเหาของนักเรียนในสถานศึกษา
รหัสโครงการ ๖๓-L๓๓๑๓-๒-๔
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนเทศบาลจองถนน(วัดบางแก้ว)
วันที่อนุมัติ 4 ตุลาคม 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 5,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางหัตถยา เพชรย้อย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจองถนน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.489,100.194place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การดูแลความสะอาดของร่างกายในวัยเรียนวัยเด็กเป็นสำคัญโดยเฉเพาะอย่างยิ่งความสะอาดบริเวณศีรษะทั้งนี้เหาเป็นแมลงขนาดเล็กไม่มีปีกเป็นตัวเบียดเบียนกัดหนังศีรษะและดูดเลือดเป็นอาหารโดยอาศัยบนศีรษะที่ไม่สะอาดเหามักจะระบาดและแพร่กระจ่ายในกลุ่มนักเรียนก่อนประถมและประถมศึกษาซึ่งอยู่ในช่วงอายุระหว่างในช่วงวัยเรียนวัยเด็กโครงการกำจัดเหาในวัยเรียนโดยกิจกรรมรณรงค์กำจัดเหาในวัยเรียนเพื่อกำจัดเหาในวัยเรียนโดยมุ่งวังให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและศีรษะที่ช่วยป้องกันโรคเหาและลดการแพร่กระจายต่อไป   โรงเรียนเทศบาลจองถนน(วัดบางแก้ว) ได้มีการกระตุ้นให้เกิดความตระหนักและตื่นตัวเห็นความสำคัญของการป้องกันและรักษาโรคเหาของนักเรียนในสถานศึกษา จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและรักษาโรคเหาของนักเรียนในสถานศึกษาขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้นักเรียน และผู้ปกครองสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของนักเรียนได้ถูกต้อง

นักเรียน และผู้ปกครองสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของนักเรียนได้ถูกต้อง

0.00
2 2. เพื่อนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์

ผู้ปกครองและนักเรียนสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้กับนักเรียนในการกำจัดเหาได้

0.00
3 3. เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่ และนักเรียนที่เป็นเหามีจำนวนลดลง

ไม่ให้เกิดเหาในนักเรียนรายใหม่ และนักเรียนที่เป็นเหามีจำนวนลดลง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. ขั้นเตรียม 1.1 จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ 1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการป้องกันและรักษาโรคเหาของนักเรียนในสถานศึกษาขึ้น 1.3 ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 1.4 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 1.5 เตรียมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการดำเนินงาน 2. ขั้นดำเนินการ 2.1 ดำเนินกิจกรรมตามโครงการป้องกันและรักษาโรคเหาของนักเรียนในสถานศึกษาขึ้น - กิจกรรมให้ความรู้ - กิจกรรมทำชมพูกำจัดเหา - กิจกรรมกำจัดเหา ด้วยน้ำยาสมุนไพร 2.2 จัดองค์ประกอบโครงการป้องกันและรักษาโรคเหาของนักเรียนในสถานศึกษาขึ้น 3. ขั้นติดตามประเมินผล 1. ประเมินผลภายในของโรงเรียนโดยใช้กระบวนการ PDCA 2. โรงเรียนสรุปผลการดำเนินงานโครงการและรายงานผล

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. นักเรียนและผู้ปกครองสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของนักเรียนได้ถูกต้อง 2. ผู้ปกครองและนักเรียนสามารถนำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้กับนักเรียนในการกำจัดเหาได้ 3. ไม่มีการเกิดเหาในนักเรียนรายใหม่และนักเรียนที่เป็นเหามีจำนวนลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ต.ค. 2562 11:44 น.