กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางตัซนีม ต่วนมหญีย์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2480-1-05 เลขที่ข้อตกลง 20/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2480-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันอัตราการป่วยของโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้นทุกปีโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจากสถานการณ์ของโรคในเขตรับผิดชอบของโงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก โดยข้อมูลกลางปีในปีงบประมาณ 2562 ( ตุลาคม2561 -กันยายน2562 ) มีประชากรทั้งหมด 4,988 คน ประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ทั้งหมด 1,674 คน ได้มีการคัดกรองโรค ทั้งหมด1,638 คน จากการคัดกรองพบกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 178 คน กลุ่มสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง 22 คน กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 205 คน และกลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน 13 คน จากการซักประวัติรายบุคคลข้อมูล สอดคล้องกับแบบประเมินคือ ผู้ป่วยมีความรู้ แต่ยังขาดทักษะการปฏิบัติสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากตัวผู้ป่วยเอง ขาดแรงกระตุ้นในการจูงใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องและขาดความร่วมมือจากผู้ดูแลเพราะผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุจะต้องมีผู้ที่ดูแลเรื่องการรับประทานยา การประกอบอาหารให้เหมาะกับผู้ป่วยและเป็นแรงกระตุ้น และจัดสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยปฏิบัติได้จริง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออกจึงมีความมุ่งมั่นในการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยเบาหวานละความดันโลหิตสูง ในชุมชนน่าจะทำให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและการแลกเปลี่ยนความรู้ได้ดีขึ้นจึงคัดเลือกผู้ป่วยโดยคัดเลือกจากผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุม ระดับ นํ้าตาลในเลือดไม่ดีหรือภาวะแทรกซ้อน และผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันไม่ค่อยได้ ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้โดยเน้นให้ผู้ป่วยและผู้ดูแลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมตามสภาพแวดล้อมเป็นจริงสอดคล้องกับสภาพสังคมและวิถี ชีวิต ประจำ วันในหมู่บ้าน จะช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกว่า ตนเองไม่ผิดแปลกไปจากผู้อื่นในสังคม ทำให้ผู้ป่วยเกิดกำลังใจและมีความพยายามในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมากขึ้นในการค้นหาคัดกรองโรคไม่ติดต่อของตำบลมะรือโบออกทำได้ลำบากเนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวนยางพาราต้องตื่นนอนเร็วรีบรับประทานอาหารเช้าเพื่อจะได้ไปทำงาน ทำให้ช่วงเวลาในการคัดกรองเป็นไปได้น้อยจึงจำเป็นต้องให้อสม.แต่ละเขตรับผิดออกคัดกรองเพิ่มเติม นอกจากนี้ประชาชนไม่เห็นความสำคัญของการคัดกรองโรคไม่ติดต่อทำให้พบผู้ป่วยเมื่อมีอาการหนักแล้ว ซึ่งกลวิธีต่างๆนี้น่าจะช่วยให้ลดจำนวนผู้ป่วยลงและให้ประชาชนได้ตระหนักถึงอันตรายของการเกิดโรค เพื่อการดูแลตนเองและครอบครัวไม่ให้มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออกและองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออกเห็นความสำคัญเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงใหม่ไม่เป็นโรคจึงได้พัฒนาโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค กิจกรรมสำคัญที่ใช้ในการดำเนินโครงการ การประชุมค้นหากลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจ การจัดกิจกรรมเรียนรู้การดูแลสุขภาพองค์รวมทั้งผู้ป่วยและญาติในครอบครัวที่จะมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ ทั้งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน และพฤติกรรมการออกกำลังกาย โดยมีทีมอสม.ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออกเป็นกลไกพี่เลี้ยงในการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีการจัดกิจกรรมประกวด บุคคลต้นแบบดูแลสุขภาพ การประกวดออกกำลังกาย เพื่อสร้างกระแสการสร้างสุขภาพทั้งนี้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. 2.เพื่อเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน
  3. 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม
  2. ประเมินสุขภาพ
  3. ติดตาม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและทั่วถึง 2.ประชาชนมีความเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรม

วันที่ 17 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการ 1.1 สำรวจและรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำและเสนอโครงการเตรียมวัสดุ/อุปกรณ์ 1.2 ประชุมชี้แจง อสม./จนท. เพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการและจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สำหรับกลุ่มเป้าหมาย
  2. ขั้นดำเนินการ 2.1 จัดนิทรรศการแก่ผู้รับบริการในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของหน่วยบริการ ประชาชนทั่วไปในชุมชน เช่น ในมัสยิด ศูนย์อเนกประสงค์หมู่บ้าน ร้านค้าขายของชำ 2.2 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมาย เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค 3 อ 2 ส ตามวิถีชุมชนตำบลมะรือโบออกในกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และกลุ่มป่วยในคลินิกโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของหน่วยบริการ 2.3 ประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค โดยใช้แบบประเมินพฤติกรรมสุขภาพของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ และแบบทดสอบเรียนรู้สุขบัญญัติแห่งชาติของ กองสุขศึกษา กรมการสนับสนุนสุขภาพ 2.4 ประกวดบุคคลต้นแบบสุขภาพดีโดยทีมสหวิชาชีพของ รพ.สต.
  3. ขั้นประเมิน 3.1 ประเมินผู้ที่สนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ 3.2 ประเมินผลพฤติกรรมสุขภาพจากแบบประเมินของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพก่อนและหลังการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ 3.3 ผลการประกวดบุคคลต้นแบบสุขภาพดี อย่างน้อย 2 คนต่อหมู่บ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำให้ประชาชนได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและทั่วถึง 2.ทำให้ประชาชนมีความเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

 

75 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้องและเหมาะสม
75.00 75.00

 

2 2.เพื่อเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายมีโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในชุมชน
75.00 75.00

 

3 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับโรค
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับโรค
75.00 75.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคด้วย 3อ 2ส อย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) 2.เพื่อเปิดโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน (3) 3.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม (2) ประเมินสุขภาพ (3) ติดตาม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน มัน เค็ม ลดโรค จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2480-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางตัซนีม ต่วนมหญีย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด