กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก


“ โครงการการให้ความรู้ 3 โรค หายได้โดยไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ในชุมชนตำบลมะรือโบออก ”

ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางตัซนีม ต่วนมหญีย์

ชื่อโครงการ โครงการการให้ความรู้ 3 โรค หายได้โดยไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ในชุมชนตำบลมะรือโบออก

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2480-1-02 เลขที่ข้อตกลง 17/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการให้ความรู้ 3 โรค หายได้โดยไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ในชุมชนตำบลมะรือโบออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการให้ความรู้ 3 โรค หายได้โดยไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ในชุมชนตำบลมะรือโบออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการให้ความรู้ 3 โรค หายได้โดยไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ในชุมชนตำบลมะรือโบออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบออก อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2480-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการใช้ยาไม่สมเหตุสมผลของคนในชุมชนเป็นปัญหาที่มีความซับซ้อนและมีปัจจัยที่เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องหลายส่วนทั้งจากตัวผู้ใช้ยาเอง ผู้สั่งใช้ยา ตลอดจนการควบคุมตามกฎหมาย ดังนั้นการดำเนินการจึงต้องใช้มาตรการที่หลากหลายทั้งความร่วมมือของหลายภาคส่วน หลายระดับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออก มีหมู่บ้านรับผิดชอบทั้งหมด 5 หมู่บ้าน มีร้านขายยา 8 ร้าน มีร้านค้า ร้านชำ ทั้งหมด 24ร้าน และจากการสำรวจร้านค้า พบว่ามีร้านค้าร้านชำอีกหลายร้านที่นำยาที่ไม่ใช่ยาสามัญประจำบ้านมาขายให้แก่คนในชุมชนและจากการสอบถามผู้ประกอบการเกี่ยวกับพิษภัยของยา ปรากฎว่าไม่มีความรู้และไม่ทราบถึงผลข้างเคียงที่ตามมา จากการดำเนินงานเกี่ยวกับงานคุ้มครองผู้บริโภคตลอดมา ได้เพียงให้คำแนะนำและให้ความรู้และยังไม่สามารถลดการนำปฎิชีวนะมาขายในชุมชนได้ จากสภาพปัญหาดังกล่าว จึงคิดหาแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้การขับเคลื่อนกิจกรรมการส่งเสริมการใช้ยาในชุมชนมีความชัดเจนและสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะรือโบออกและองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออก จึงได้จัดทำโครงการการให้ความรู้เชิงรุก ด้านความปลอดภัยจากการใช้ยาปฏิชีวนะ ที่ถูกต้องในชุมชน ตำบลมะรือโบออก ประจำปีงบประมาณ 2562 และเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาโดยใช้ชุมชนเป็นฐานและเน้นการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ซึ่งครอบคลุมประเด็งการใช้ยาปฎิชีวนะ ยาชุดและการใช้ยาสเตียรอยด์ โดยไม่จำเป็นเพื่อให้คนในชุมชนมีการพัฒนาการจัดการเรื่องยาให้สมเหตุสมผลและปลอดภัยในระยะยาวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 โรค (โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน,ท้องร่วงเฉียบพลัน,แผลเลือดออก)
  2. เพื่อสร้างความตระหนักความรู้ในชุมชนเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ
  3. เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาอันตรายโดยเฉพาะร้านชำในชุชมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์ในชุมชน
  2. อบรมให้ความรู้เชิงรุก
  3. การติดตามและเฝ้าระวังการใช้ยาในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรุ้ความเข้าเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้อง 2.ประชาชนได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง 3.ลดการขายยาสเตรียรอยด์ในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาสัมพันธ์ในชุมชน

วันที่ 25 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่ทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้เชิงรุก

วันที่ 3 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนแนวทางการดำเนินงานกับองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบออก
  2. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง รับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกันต่อกลุ่มเป้าหมายในการขับเคลื่อนเพื่อให้การใช้ยาที่ปลอดภัยในชุมชน
  3. พัฒนาศักยภาพการใช้ยาในชุมชนโดยการจัดอบรมการให้ความรู้เชิงรุก ด้านความปลอกภัยจากการใช้ยาปฏิชีวนะ ที่ถูกต้องในชุมชน
  4. เตรียมเอกสารและอุปกรณ์ในการอบรม
  5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่กลุ่มเป้าหมายเพื่อหาแนวทางการแก้ไขร่วมกัน
  6. เฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายในชุมชนตรวจสอบแหล่งกระจายยาที่มีการสะสมยาปฏิชีวนะ และยาสเตียรอยด์ (ร้านขายยา ร้านค้า ร้านชำ ในชุมชนทุกร้าน) และสาธิตยกตัวอย่างยาที่ปลอดภัย และที่ไม่ปลอดภัย 7.สรุปผลการดำเนินงานแก่กลุ่มเป้าหมายและคณะทำงานที่เกี่ยวข้องและรายงานผลการดำเนินงาน
  7. ประเมินผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำให้ประชาชนมีความรุ้ความเข้าเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้อง 2.ทำให้ประชาชนได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง 3.ทำให้ลดการขายยาสเตรียรอยด์ในชุมชน

 

75 0

3. การติดตามและเฝ้าระวังการใช้ยาในชุมชน

วันที่ 22 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

มีการติตามและเฝ้าระวังการใช้ยาในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 โรค (โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน,ท้องร่วงเฉียบพลัน,แผลเลือดออก)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 โรค (โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน,ท้องร่วงเฉียบพลัน,แผลเลือดออก)
75.00 77.00

 

2 เพื่อสร้างความตระหนักความรู้ในชุมชนเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 คนชุมชนเพื่อสร้างความตระหนักความรู้ในชุมชนเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ
75.00 77.00

 

3 เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาอันตรายโดยเฉพาะร้านชำในชุชมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาอันตรายโดยเฉพาะร้านชำในชุชมชน
75.00 77.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยลดการใช้ยาปฏิชีวนะใน 3 โรค (โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน,ท้องร่วงเฉียบพลัน,แผลเลือดออก) (2) เพื่อสร้างความตระหนักความรู้ในชุมชนเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องและสมเหตุสมผลโดยเฉพาะกลุ่มยาปฏิชีวนะ (3) เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมแหล่งกระจายยาอันตรายโดยเฉพาะร้านชำในชุชมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ในชุมชน (2) อบรมให้ความรู้เชิงรุก (3) การติดตามและเฝ้าระวังการใช้ยาในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการให้ความรู้ 3 โรค หายได้โดยไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ ในชุมชนตำบลมะรือโบออก จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2480-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางตัซนีม ต่วนมหญีย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด