โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอันวาร์ เจ๊ะหามะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 01 เลขที่ข้อตกลง 04/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่าประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อย่างเต็มตัวแล้วทั้งนี้การที่ประเทศใดจะถูกจัดให้อยู่ใน "สังคมผู้สูงอายุ" ประเทศนั้นจะต้องมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด จากข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ปี พ.ศ. 2558 มีผู้สูงอายุอยู่ที่ ร้อยละ 13.8 และคาดว่าปี 2568 ผู้สูงอายุจะอยู่ที่ ร้อยละ 20 การที่สังคมไทยก้างสู่สังคมผู้สูงอายุย่อมส่งผลกระทบที่สำคัญ 2 ประการค่อ 1. ปัญหาที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุเอง ปัญหาด้านสุขภาพ เมื่อบุคคลอย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ร่างกาย หรือ อวัยวะที่ใช้งานมามาก ส่งผลให้เจ็บป่วย โรคภัยไข้เจ็บ มากขึ้น กระทบเกี่ยวกับทุกระบบของร่างกาย ทั้งในด้านตา หู ระบบทางเดินหายใน ผิวหนัง ความดันโลหิต โรคหัวใจ ระบบย่อยอาหาร โรคเกี่ยวกับระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก ฯลฯ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ เมื่ออยู่ในวัยทำงาน สามารถหารายได้เลี้ยงตัวเองเลี้ยงครอบครัวได้อย่างเต็มที่ แต่เมื่ออย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ สมรรถภาพในการทำงานลดน้อยลง ส่งผลถึงอาชีพและการหารายได้ลดลง ทำให้ผู้สูงอายุปรับตัวไม่ทัน คิดมาก มองตนเองเป็นคนไร้ค่า รู้สึกเหว่หว้า ถูกทอดทิ้ง หมดกำลังใน 2. ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคม เมื่อผู้สูงอายุมากขึ้นแน่นอนสังคมผู้สูงอายุ จะถูกมองว่าเป็นการเพิ่มภาระให้แก่สังคม การที่ประชากรไทยมีอายุสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นไปอีก เพราะประชากรวัยทำงานต้องออกจากกำลังแรงงานปกติแล้ว ผู้สูงอายุต้องกลายเป็นผู้ที่ต้องพึ่งพิงทางเศรษฐกิจต่อประชากรวัยแรงงาน กลายเป็นภาระหนักให้กับประชากรวันแรงงานในร่นต่อๆ ไป ประกอบกับผู้สูงอายุมีแนวโน้มอายุยืนขึ้นไปอีก จึงเป็นภาระของครอบครัวและสังคมที่เกี่ยวข้องในที่สุด ดังนั้นการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็น กลุ่ม อาวุโสตำบลบูกิต จึงตระหนักถึงความสำคัญของการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ที่มีสุขภาพที่แข็งแร็ง ไม่มีโรค ผู้สูงอายุได้มีสุขภาพกายที่แข็งแรงมีสุขภาพจิตที่แจ่มใส จึงมีความจำเป็นในการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อารมณ์ให้กับผู้ที่เข้าวัยผู้สูงอายุในชุมชนตำบลบูกิต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
- อบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
- ร่วมออกกำลังกายทุกเย็น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
. ผู้เข้ารับการอบรมมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
ผู้เข้ารับการอบรมประชุมมีความเข้าใจในสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมผู้สูงอายุ
ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตให้มีความสุขได้ในสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชาสัมพันธ์ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
วันที่ 14 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ประกาศ ประชาสัมพันธ์ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้ที่เข้าร่วมโครงการ
0
0
2. อบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
วันที่ 15 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
• อบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
• ให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
• การดูแลสุขภาพเมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
• แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพโดยผู้สูงอายุต้นแบบ ( ไม่มีโรค ร่างการแข็งแรง )
ให้ผู้เข้าอบรมแนะนำบุคคลในครอบครัวที่ไว้ใจที่สุดเพื่อให้สามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน)
• ลงทะเบียนผู้ที่พร้อมทำกิจกรรมตอนเย็น
• ค่าอาหารกลางวัน+เครื่องดื่ม จำนวน 40 คน x 60 บาทx 1 มื้อ =2,400บาท
• ค่าอาหารว่าง+เครื่องดื่ม จำนวน 40 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 2,000บาท
• ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.0 x 3 เมตร = 750 บาท
• ค่าสมุด ปากกา กระเป๋า 40 ชุด x 30 บาท = 2,000 บาท
• ค่าวิทยากรให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ 1 คน x 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท= 3,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีจำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 40 คน
40
0
3. ร่วมออกกำลังกายทุกเย็น
วันที่ 16 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดกลุ่ม มาออกกำลังกาย โดยมีทีมดูแลความปลอดภัยของผู้สูงอายุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ทุกคนที่ร่วมโครงการให้ความร่วมมือและออกกำลังอย่างสม่ำเสมอ
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
40.00
30.00
2
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น
40.00
20.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม (2) อบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ (3) ร่วมออกกำลังกายทุกเย็น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอันวาร์ เจ๊ะหามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายอันวาร์ เจ๊ะหามะ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 01 เลขที่ข้อตกลง 04/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่าประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ อย่างเต็มตัวแล้วทั้งนี้การที่ประเทศใดจะถูกจัดให้อยู่ใน "สังคมผู้สูงอายุ" ประเทศนั้นจะต้องมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด จากข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่า ปี พ.ศ. 2558 มีผู้สูงอายุอยู่ที่ ร้อยละ 13.8 และคาดว่าปี 2568 ผู้สูงอายุจะอยู่ที่ ร้อยละ 20 การที่สังคมไทยก้างสู่สังคมผู้สูงอายุย่อมส่งผลกระทบที่สำคัญ 2 ประการค่อ 1. ปัญหาที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุเอง ปัญหาด้านสุขภาพ เมื่อบุคคลอย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ร่างกาย หรือ อวัยวะที่ใช้งานมามาก ส่งผลให้เจ็บป่วย โรคภัยไข้เจ็บ มากขึ้น กระทบเกี่ยวกับทุกระบบของร่างกาย ทั้งในด้านตา หู ระบบทางเดินหายใน ผิวหนัง ความดันโลหิต โรคหัวใจ ระบบย่อยอาหาร โรคเกี่ยวกับระบบประสาท กล้ามเนื้อ กระดูก ฯลฯ ปัญหาด้านเศรษฐกิจ เมื่ออยู่ในวัยทำงาน สามารถหารายได้เลี้ยงตัวเองเลี้ยงครอบครัวได้อย่างเต็มที่ แต่เมื่ออย่างเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ สมรรถภาพในการทำงานลดน้อยลง ส่งผลถึงอาชีพและการหารายได้ลดลง ทำให้ผู้สูงอายุปรับตัวไม่ทัน คิดมาก มองตนเองเป็นคนไร้ค่า รู้สึกเหว่หว้า ถูกทอดทิ้ง หมดกำลังใน 2. ปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคม เมื่อผู้สูงอายุมากขึ้นแน่นอนสังคมผู้สูงอายุ จะถูกมองว่าเป็นการเพิ่มภาระให้แก่สังคม การที่ประชากรไทยมีอายุสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นไปอีก เพราะประชากรวัยทำงานต้องออกจากกำลังแรงงานปกติแล้ว ผู้สูงอายุต้องกลายเป็นผู้ที่ต้องพึ่งพิงทางเศรษฐกิจต่อประชากรวัยแรงงาน กลายเป็นภาระหนักให้กับประชากรวันแรงงานในร่นต่อๆ ไป ประกอบกับผู้สูงอายุมีแนวโน้มอายุยืนขึ้นไปอีก จึงเป็นภาระของครอบครัวและสังคมที่เกี่ยวข้องในที่สุด ดังนั้นการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็น กลุ่ม อาวุโสตำบลบูกิต จึงตระหนักถึงความสำคัญของการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ ที่มีสุขภาพที่แข็งแร็ง ไม่มีโรค ผู้สูงอายุได้มีสุขภาพกายที่แข็งแรงมีสุขภาพจิตที่แจ่มใส จึงมีความจำเป็นในการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย อารมณ์ให้กับผู้ที่เข้าวัยผู้สูงอายุในชุมชนตำบลบูกิต
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชาสัมพันธ์ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
- อบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
- ร่วมออกกำลังกายทุกเย็น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
. ผู้เข้ารับการอบรมมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
ผู้เข้ารับการอบรมประชุมมีความเข้าใจในสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมผู้สูงอายุ
ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิตให้มีความสุขได้ในสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชาสัมพันธ์ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม |
||
วันที่ 14 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำประกาศ ประชาสัมพันธ์ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้ที่เข้าร่วมโครงการ
|
0 | 0 |
2. อบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ |
||
วันที่ 15 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ• อบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ • ให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ • การดูแลสุขภาพเมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดูแลสุขภาพโดยผู้สูงอายุต้นแบบ ( ไม่มีโรค ร่างการแข็งแรง ) ให้ผู้เข้าอบรมแนะนำบุคคลในครอบครัวที่ไว้ใจที่สุดเพื่อให้สามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (คน) • ลงทะเบียนผู้ที่พร้อมทำกิจกรรมตอนเย็น • ค่าอาหารกลางวัน+เครื่องดื่ม จำนวน 40 คน x 60 บาทx 1 มื้อ =2,400บาท • ค่าอาหารว่าง+เครื่องดื่ม จำนวน 40 คน x 25 บาท x 2 มื้อ = 2,000บาท • ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.0 x 3 เมตร = 750 บาท • ค่าสมุด ปากกา กระเป๋า 40 ชุด x 30 บาท = 2,000 บาท • ค่าวิทยากรให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ 1 คน x 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาท= 3,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีจำนวนผู้เข้าร่วมประชุม 40 คน
|
40 | 0 |
3. ร่วมออกกำลังกายทุกเย็น |
||
วันที่ 16 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำจัดกลุ่ม มาออกกำลังกาย โดยมีทีมดูแลความปลอดภัยของผู้สูงอายุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นทุกคนที่ร่วมโครงการให้ความร่วมมือและออกกำลังอย่างสม่ำเสมอ
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) |
40.00 | 30.00 |
|
|
2 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น |
40.00 | 20.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 0 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม (2) อบรมให้ความรู้ การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ (3) ร่วมออกกำลังกายทุกเย็น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุตำบลบูกิตประจำปี 2563 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอันวาร์ เจ๊ะหามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......