โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียานี วานิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 10 เลขที่ข้อตกลง 34/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องสุขภาพของประชาชนบ้านบือราแงเพิ่มขึ้น ซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่รพ.สต.บูกิต มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อ เพิ่มสูงขึ้น โรงพยาบาลก็ต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาบาลเพื่อให้รองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมากและเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุเนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุ มาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะอาหารที่มีการปลอมปนสารเคมีหรือ ผัก-ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษ จากการที่เกษตรกรใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีทางการเกษตรมากทำให้สภาพดินเสื่อมโทรม สุขภาพร่างกายของเกษตรกรผู้ผลิตเสื่อมโทรม และผลผลิตทางการเกษตรเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้า และพาณิชย์ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน ที่สำคัญการปลูกผักยังมีส่วนช่วยทำให้เกิดการจัดการทรัพยากรเหลือใช้ในท้องถิ่น ตลอดจนมีการนำขยะในครัวเรือนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยการสร้างความเข้มแข็งด้านการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และลดสารเคมีทางการเกษตร โดยใช้วัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติหรือบ้านเรือน และเป็นการสร้างอาชีพให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มจากการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ซึ่งสามารถทำได้ด้วยตนเองที่บ้าน จากการนำขยะมูลฝอยที่มีมากในชุมชน ซึ่งเป็นปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมและเป็นแหล่งเพราะพันธุ์ของสัตว์นำโรค เช่น แมลงสาบ แมลงวัน หนูและเป็นวัสดุที่หาง่าย ประหยัดค่าใช้จ่าย และช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมอีกด้วย และยังเป็นการน้อมนำแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต
กลุ่มปลูกผักเพื่อสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาวะที่ดีของชุมชน เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน และเป็นการสร้างกระแสกระตุ้นเตือนให้ประชาชนได้หันมาให้ความใส่ใจกับการปลูกและบริโภคผักที่ปลอดภัยกันมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะช่วยลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อเรื้อรังแล้ว ยังช่วยลดการได้รับสารปนเปื้อนจากผักที่มีขายตามท้องตลาดอีกด้วย และยังอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
- ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครเข้าร่วมโครงการ
- อบรมให้ความรู้ เรื่อง ผักปลอดสารพิษกับประโยชน์ในการป้องกันโรค
- การส่งเสริมการลดการใช้สารเคมี หันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น
ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารปลอดสารพิษและมีภาวะสุขภาพที่ดี
ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น
50.00
50.00
2
ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ
10.00
10.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน (2) ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครเข้าร่วมโครงการ (2) อบรมให้ความรู้ เรื่อง ผักปลอดสารพิษกับประโยชน์ในการป้องกันโรค (3) การส่งเสริมการลดการใช้สารเคมี หันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมารียานี วานิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารียานี วานิ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 10 เลขที่ข้อตกลง 34/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องสุขภาพของประชาชนบ้านบือราแงเพิ่มขึ้น ซึ่งเห็นได้จากสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่รพ.สต.บูกิต มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ และอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อ เพิ่มสูงขึ้น โรงพยาบาลก็ต้องเพิ่มขนาดของโรงพยาบาลเพื่อให้รองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป็นภาระที่รัฐบาลจะต้องเสียงบประมาณในการดำเนินการเป็นอันมากและเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุเนื่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพ ที่สำคัญมีสาเหตุ มาจากการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะอาหารที่มีการปลอมปนสารเคมีหรือ ผัก-ผลไม้ ที่ไม่ปลอดสารพิษ จากการที่เกษตรกรใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีทางการเกษตรมากทำให้สภาพดินเสื่อมโทรม สุขภาพร่างกายของเกษตรกรผู้ผลิตเสื่อมโทรม และผลผลิตทางการเกษตรเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธีเพื่อเหตุผลทางการค้า และพาณิชย์ทำให้สารเคมีที่เป็นโทษเหล่านั้น ตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และการส่งเสริมการปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือน ที่สำคัญการปลูกผักยังมีส่วนช่วยทำให้เกิดการจัดการทรัพยากรเหลือใช้ในท้องถิ่น ตลอดจนมีการนำขยะในครัวเรือนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยการสร้างความเข้มแข็งด้านการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และลดสารเคมีทางการเกษตร โดยใช้วัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติหรือบ้านเรือน และเป็นการสร้างอาชีพให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มจากการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ซึ่งสามารถทำได้ด้วยตนเองที่บ้าน จากการนำขยะมูลฝอยที่มีมากในชุมชน ซึ่งเป็นปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมและเป็นแหล่งเพราะพันธุ์ของสัตว์นำโรค เช่น แมลงสาบ แมลงวัน หนูและเป็นวัสดุที่หาง่าย ประหยัดค่าใช้จ่าย และช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมอีกด้วย และยังเป็นการน้อมนำแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิต
กลุ่มปลูกผักเพื่อสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อสุขภาวะที่ดีของชุมชน เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในชุมชน และเป็นการสร้างกระแสกระตุ้นเตือนให้ประชาชนได้หันมาให้ความใส่ใจกับการปลูกและบริโภคผักที่ปลอดภัยกันมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะช่วยลดภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคติดต่อเรื้อรังแล้ว ยังช่วยลดการได้รับสารปนเปื้อนจากผักที่มีขายตามท้องตลาดอีกด้วย และยังอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน
- ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครเข้าร่วมโครงการ
- อบรมให้ความรู้ เรื่อง ผักปลอดสารพิษกับประโยชน์ในการป้องกันโรค
- การส่งเสริมการลดการใช้สารเคมี หันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น
ประชาชนมีความรู้ในเรื่องการรับประทานอาหารปลอดสารพิษและมีภาวะสุขภาพที่ดี
ประชาชนมีการปลูกผักปลอดสารพิษ รับประทานเองในครัวเรือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน ตัวชี้วัด : ร้อยละพื้นที่เกษตรอินทรีย์/เกษตรปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน เพิ่มขึ้น |
50.00 | 50.00 |
|
|
2 | ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ |
10.00 | 10.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มสัดส่วนพื้นที่เกษตรอินทรีย์ปลอดภัยต่อพื้นที่เกษตรทั้งหมดในชุมชน (2) ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครเข้าร่วมโครงการ (2) อบรมให้ความรู้ เรื่อง ผักปลอดสารพิษกับประโยชน์ในการป้องกันโรค (3) การส่งเสริมการลดการใช้สารเคมี หันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปลูกผักปลอดสารพิษตำบลบูกิต จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63 - L2479 - 2 - 10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมารียานี วานิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......