กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ


“ อบรมการซ้อมแผนกู้ชีพและการช่วยเหลือชีวิตทางน้ำ ”

ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอาบูซามะแซ

ชื่อโครงการ อบรมการซ้อมแผนกู้ชีพและการช่วยเหลือชีวิตทางน้ำ

ที่อยู่ ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมการซ้อมแผนกู้ชีพและการช่วยเหลือชีวิตทางน้ำ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมการซ้อมแผนกู้ชีพและการช่วยเหลือชีวิตทางน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมการซ้อมแผนกู้ชีพและการช่วยเหลือชีวิตทางน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำดำ อำเภอทุ่งยางแดง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำดำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยพื้นที่ตำบลน้ำดำเป็นพื้นที่ที่เกิดน้ำท่วมขึ้นทุกๆปีในแต่ละปีจะมีเด็กจมน้ำ เนื่องจากการเล่นน้ำโดยไม่มีระวังป้องกัน และในปี2559 มีเด็กจมน้ำจำนวน 8 ราย เสียชีวิตจำนวน 1 ราย ซึ่งการจมน้ำเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กไทยเสียชีวิตสูงเป็นอันดับหนึ่งมาตลอด โดยปี 2559 มีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จมน้ำเสียชีวิต 699 คน โดยช่วงปิดเทอมใหญ่ ระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม พบเด็กจมน้ำเสียชีวิตสูงถึง 197 คน ซึ่งลดลงกว่าในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตเฉลี่ย 348 คน โดยที่ในบางปีมีจำนวนสูงถึงเกือบ 450 คน กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้วันเสาร์แรกของเดือนมีนาคมของทุกปีเป็นวันรณรงค์ป้องกันเด็กจมน้ำ ซึ่งได้ร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายต่างๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน ท้องถิ่น และจิตอาสา จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันการจมน้ำอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2552 อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า ในปี 2560 นี้ ได้กำหนดเป้าหมายลดอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ให้ลดลงเหลือ 5.0 ต่อประชากรเด็กแสนคน หรือน้อยกว่า 600 คน ซึ่งปีนี้ได้กำหนดหัวข้อที่ใช้ในการรณรงค์ คือ“บ้านเริ่ม ชุมชนร่วมป้องกันเด็กจมน้ำ” โดยมีแนวคิดให้ครอบครัว(บ้าน) เป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างความปลอดภัยทางน้ำและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งและชุมชนพึ่งตนเองได้ โดยการป้องกันเด็กจมน้ำสามารถเริ่มทำได้จากที่บ้าน เพราะเด็กเล็กจะจมน้ำในภาชนะที่อยู่ภายในบ้าน ที่มีน้ำสูงเพียง 1-2 นิ้ว จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค พบว่าเกือบครึ่งหนึ่งของเด็กที่จมน้ำจะเสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ เพราะตั้งแต่เด็กตกลงไปในน้ำจนจมอยู่ใต้น้ำ เวลาเพียง 4 นาที ก็ทำให้สมองขาดออกซิเจนและเสียชีวิตได้ ดังนั้นการป้องกันก่อนเกิดเหตุจึงสำคัญที่สุด อย่างไรก็ตาม เมื่อตกน้ำจมน้ำแล้ว มีหลายกรณีที่เราพบว่า คนจมน้ำรอดชีวิตเพราะได้รับการช่วยเหลือและปฐมพยาบาลที่เร็วและถูกวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะและมีความคล่องตัวในการปฐมพยาบาลได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือชีวิตของประชาชนได้อย่างถูกวิธี
  3. เพื่อสอนและฝึกหัดให้ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล
  4. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวางแผนและแก้ปัญหาเมื่อประสบเหตุทางน้ำ สามารถช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นให้เอาตัวรอดในสภาวะคับขันทางน้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 45
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะและมีความคล่องตัวในการปฐมพยาบาลได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว 2.ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือชีวิตของประชาชนได้อย่างถูกวิธี 3.ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล 4.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวางแผนและแก้ปัญหาเมื่อประสบเหตุทางน้ำ สามารถช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นให้เอาตัวรอดในสภาวะคับขันทางน้ำ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะและมีความคล่องตัวในการปฐมพยาบาลได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือชีวิตของประชาชนได้อย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อสอนและฝึกหัดให้ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวางแผนและแก้ปัญหาเมื่อประสบเหตุทางน้ำ สามารถช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นให้เอาตัวรอดในสภาวะคับขันทางน้ำ
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 45
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีทักษะและมีความคล่องตัวในการปฐมพยาบาลได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถใช้วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ในการช่วยเหลือชีวิตของประชาชนได้อย่างถูกวิธี (3) เพื่อสอนและฝึกหัดให้ผู้เข้าร่วมโครงการรู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล (4) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถวางแผนและแก้ปัญหาเมื่อประสบเหตุทางน้ำ สามารถช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือผู้อื่นให้เอาตัวรอดในสภาวะคับขันทางน้ำ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    อบรมการซ้อมแผนกู้ชีพและการช่วยเหลือชีวิตทางน้ำ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอาบูซามะแซ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด