กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน


“ โครงการส่งเสริมดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ปี 2562 ”

ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอร่าม อามีเราะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2418-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะสะท้อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2418-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะสะท้อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีข้อมูลประชากรผู้สูงอายุ ที่ชี้ให้เห็นว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยโครงสร้างทางอายุของประชากร นั้น เมื่อจำแนกประชากรออกเป็นกลุ่มอายุ ๓ กลุ่มใหญ่ๆ คือ ประชากรวัยเด็ก (อายุน้อยกว่า ๑๕ ปี) วัยแรงงาน (อายุ ๑๕ – ๕๙ ปี) และวัยสูงอายุ (อายุ ๖๐ ปีขึ้นไป) พบว่า ในระหว่างปี พ.ศ.๒๕๕๓ – พ.ศ.๒๕๘๓ สัดส่วนของประชากรวัยเด็ก และวัยแรงงาน มีแนวโน้มลดลง ในขณะที่สัดส่วนของประชากรสูงอายุ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ ๑๓.๒ ในพ.ศ.๒๕๕๓ เป็นร้อยละ ๓๒.๑ ในพ.ศ.๒๕๘๓ การที่สังคมไทยมีโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุเกินร้อยละ ๑๐ ของประชากรทั้งหมด ถือได้ว่าสังคมไทยเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุอย่างแท้จริง จากสถานการณ์ผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้เกิดภาระพึ่งพิงสูงมากขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุมักมีปัญหาด้านสุขภาพตามมาได้แก่ ปัญหาการได้ยินและการมองเห็น การสื่อสาร การเคลื่อนไหวร่างกายและอุบัติเหตุ ปัญหาในการขบเคี้ยวอาหารและการขับถ่าย ปัญหาสภาพจิตใจ โรคสมองเสื่อม ปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่พบมาก ๓ อันดับแรกในผู้สูงอายุได้แก่  โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ ๓๑.๗ โรคเบาหวาน ร้อยละ ๑๓.๓ และโรคหัวใจ ร้อยละ ๗ ( มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย,๒๕๕๓) นอกจากนั้นมีโรคอัมพฤกษ์/อัมพาต โรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคมะเร็ง
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) เป็นการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ยังมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยและยืดระยะเวลาของการมีสุขภาพดีให้ยาวนานที่สุด อาจแบ่งผู้สูงอายุ ออกเป็น ๓ กลุ่ม ตามกลุ่มศักยภาพความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (Activity of Daily Living: ADL) โดยใช้แบบประเมินดัชนีบาร์เทล เอดีแอล (Barthel ADL Index) ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ ติดสังคม) พึ่งพาตนเองได้ กลุ่มที่ ๒ ติดบ้าน) ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง บางส่วนต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันบ้าง กลุ่มที่ ๓ ติดเตียง) คือ ผู้สูงอายุที่ป่วย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันและการดูแลฟื้นฟูสุขภาพต่อเนื่อง
จากผลการดำเนินงานการคัดกรองผู้สูงอายุเขตรพ.สต.เกาะสะท้อน ปี  ๒๕๖๑ ทั้งหมด จำนวน ๔๓๘ คน เป็น สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ๓๓๘ คน พบว่าผลการประเมินกิจวัตรประจำวัน(ADL) มีผลระดับพึ่งพาสมบูรณ์ ๘ คน พึ่งพารุนแรง ๔ คน พึ่งพาปานกลาง ๒๔ คน ไม่พึ่งพา ๔๐๒ คน โดยในจำนวนนี้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง ๑๖๓ คน เบาหวาน ๒๘ คน และทั้งความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ๔๓ คน ดังนั้นการดำเนินงานดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาววิธีหนึ่งคือการดำเนินกิจกรรมชมรมผู้สูงอายุให้เหมาะกับบริบท ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมในพื้นที่ซึ่งผู้สูงอายุนับถือทั้ง ๒ ศาสนาคือ ศาสนาอิสลามและศาสนาพุทธ โดยมีลักษณะการปฏิบัติที่แตกต่างกัน เพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชิกจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมดูแลผู้สูงอายุระยะยาว วิถีพุทธและมุสลิม ปี ๒๕๖๒ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐาน
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่อง ๓ อ. ๒ ส.
  3. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานในชมรมผู้สูงอายุให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดบริการตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐาน ให้ความรู้เรื่อง ๓ อ. ๒ส. และออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 270
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี มีความรู้เรื่อง ๓ อ. ๒ ส. และได้รับการตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐาน ๒. ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐาน ร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่อง ๓ อ. ๒ ส.
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่ร่วมโครงการได้รับความรู้เรื่อง ๓ อ. ๒ ส. ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

3 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานในชมรมผู้สูงอายุให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมต่อเนื่อง ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 270
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 270
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐาน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่อง ๓ อ. ๒ ส. (3) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการดำเนินงานในชมรมผู้สูงอายุให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดบริการตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐาน ให้ความรู้เรื่อง ๓ อ. ๒ส. และออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2418-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอร่าม อามีเราะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด