กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมส่งเสริมโภชนาการมารดาและทารก (จ่ายนม – ไข่ )     ๑. ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมการดำเนินงาน/มอบหมายงาน ๒. ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายทราบ
    1. รับขึ้นทะเบียนหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ โดยยื่นคำร้องพร้อมหลักฐานด้วยตัวเองในวันที่ 20 – สิ้นเดือน ของทุกเดือนในวันและเวลาราชการ ที่ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง โดยคำร้องต้องผ่านการคัดกรองของ อสม. และเจ้าหน้าที่ของ PCU ตามที่อยู่ของหญิงตั้งครรภ์
  2. ประกาศรายชื่อผู้ที่มีสิทธิ์ได้รับนม-ไข่ ที่ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด พร้อมนัดวันรับ นม – ไข่ ของเดือนถัดไป
  3. รวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ จัดทำทะเบียนหญิงตั้งครรภ์ ทะเบียนหญิงตั้งครรภ์เสี่ยงสูง และทะเบียนรับนม-ไข่
  4. ส่งต่อรายชื่อหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ให้ PCU และอสม. ในพื้นที่ทราบ
  5. เจาะหาระดับความเข้มข้นเลือดทุก ๒ เดือน ในกรณีที่มีความเข้มข้นของเลือดน้อยกว่า
    33 mg%
  6. จ่ายนม - ไข่ แก่หญิงตั้งครรภ์ และมารดาหลังคลอด พร้อมทั้งให้ความรู้ด้านภาวะโภชนาการ นมแม่ และพัฒนาการเด็ก เดือนละ 1 ครั้ง โดยมอบนมพร้อมดื่ม จำนวน 30 กล่องต่อเดือน และไข่ไก่เบอร์ 2 จำนวน 30 ฟอง ต่อเดือน
    1. กิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ในชุมชน
    2. หญิงตั้งครรภ์ปกติ หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงทางสุขภาพเล็กน้อย ติดตามเยี่ยมบ้านโดย อสม. แม่คนที่ 2 เดือนละ 1 ครั้ง เพื่อให้คำแนะนำ ติดตามการบริโภคนม – ไข่ พัฒนาการ การรับวัคซีนตามเกณฑ์
    3. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูง ติดตามเยี่ยมบ้านโดย พยาบาลประจำ PCU
    4. กลุ่มมารดาและทารกหลังคลอด เยี่ยมโดยพยาบาลและ อสม. ในการให้คำแนะนำการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างน้อย 6 เดือน การตรวจหลังคลอด การวางแผนครอบครัว การรับวัคซีน การส่งเสริมพัฒนาการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดโดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 2. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดในขณะใกล้คลอด (Hct 2) ไม่เกินร้อยละ 10
0.00 89.33

หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ จำนวน 67 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.33

2 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด
ตัวชี้วัด : 3. ทารกแรกเกิดน้ำหนังน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7
0.00 6.66
  • หญิงตั้งครรภ์รายมีภาวะซีดขณะใกล้ก่อนคลอด จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.66
3 3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 4. เด็กแรกเกิด – ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30
0.00 6.25

ทารกแรกเกิด จำนวน 55 ราย มีน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม จำนวน 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.25

4 4. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัวและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพแม่และเด็กและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด : 5. เด็กแรกเกิดถึง 1 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00 90.91

ทารกแรก – 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว 50 ราย คิดเป็นร้อยละ 90.91

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 300 300
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอดโดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ (2) 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (4) 4. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัวและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพแม่และเด็กและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh