กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่
รหัสโครงการ 63-L5282-05-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม อบต.อุใดเจริญ
วันที่อนุมัติ 26 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 150,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายศักดิ์ตะวัน สันเกาะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.903,99.932place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่ร่องความกดอากาศต่ำเคลื่อนที่ผ่านอ่าวไทยและภาคใต้ ส่งผลให้เกิดภาวะอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ระหว่างวันที่ 29 ธันวาคม 2550 -5 มกราคม 2560 ที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในหลายพื้นโดยเฉพาะ จังหวัดตรัง พัทลุง นราธิวาส ปัตตานี สตูล ตลอดจนพื้นที่จังหวัดสงขลาบางส่วนนั้นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ประสบภัยสามารถเขียนโครงการด้านสุขภาพขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากภัยพิบัติน้ำท่วมตลอดจนโครงการป้องกันและแก้ปัญหาโรคหรือสุขภาพที่เกิดขึ้นภายหลังจากน้ำลดแล้วจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่หรือ กองทุนสุขภาพตำบลตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2557 ข้อ7(5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ ตามที่ร่องความกดอากาศต่ำเคลื่อนที่ผ่านอ่าวไทยและภาคใต้ ส่งผลให้เกิดภาวะอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้ระหว่างวันที่ 29 ธันวาคม 2559 -5 มกราคม 2560 ที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดความเดือดร้อนแก่ประชาชนในหลายพื้นโดยเฉพาะ จังหวัดตรัง พัทลุง นราธิวาส ปัตตานี สตูล ตลอดจนพื้นที่จังหวัดสงขลาบางส่วนนั้น สำหรับในพื้นที่ อบต.อุใดเจริญ มีความตระหนักในปัญหาสุขภาพที่จะตามมาจากน้ำท่วมครั้งนี้ คือ โรคน้ำกัดเท้า หรือ บ่อน้ำบริโภคถูกน้ำท่วมส่งผลต่อการขาดแคลนน้ำดื่ม ตลอดจนการระบาดของโรคฉี่หนู หรือ โรคไข้เลือดออกจำเป็นต้องดำเนินโครงการเผชิญและบรรเทาผลกระทบจากภัยพิบัติ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)

ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม(คน)

0.00
2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

ร้อยละของการแก้ปัญหาเด็กเล็กที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคมือเท้าปากระบาด(คน)

0.00
3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(คน

0.00
4 เพื่อแก้ปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นแก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน)

ร้อยละของการสามารถลดปัญหาทางสาธารณสุขเบื้องต้นและบรรเทาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะหมอกควันไฟใหม้ป่า(คน)

0.00
5 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในแก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

0.00
6 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนมีการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

ร้อยละ ๘๐ ของประชาชนมีอุปกรณ์ในการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 7320 149,960.00 6 33,360.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 การแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงเป็นพาหะ 0 0.00 0.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 การแก้ปัญหาผลกระทบเบื้องต้นจากควันไฟอินโดนีเซีย 0 0.00 0.00
1 ต.ค. 62 - 30 ก.ย. 63 การแก้ปัญหาโรคระบาดจากน้ำท่วม 0 0.00 0.00
10 - 31 มี.ค. 63 โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-1๙) ภายใต้โครงการควบคุมและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติและโรคระบาดในพื้นที่ ปีงบประมาณ พ.ศ 2563 200 33,360.00 33,360.00
20 - 31 มี.ค. 63 โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) 7,120 90,600.00 0.00
1 - 30 เม.ย. 63 โครงการพลังคนไทยร่วมใจป้องกันโรคไวัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ระยะที่ 3 0 26,000.00 0.00

๑. ประสานงานเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและจัดเตรียมอุปกรณ์

๒. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19

๓. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้กับประชาชนในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19

๔. สนับสนุนสนับสนุนให้ประชาชนมีการเฝ้าระวัง และป้องกันตนเองจากโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) โดยการสอนการทำหน้ากากอนามัย และการล้างมือที่ถูกวิธี

๕. สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ประชาชนในพื้นที่ได้รับการบรรเทาผลกระทบต่อปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ต.ค. 2562 09:48 น.