กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายจิตผ่องใส ตำบลพร่อน ประจำปี 2562 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายจิตผ่องใส ตำบลพร่อน ประจำปี 2562 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ”

ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสมจิต กล้าหาญ

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายจิตผ่องใส ตำบลพร่อน ประจำปี 2562 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2485 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 มิถุนายน 2562 ถึง 27 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายจิตผ่องใส ตำบลพร่อน ประจำปี 2562 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายจิตผ่องใส ตำบลพร่อน ประจำปี 2562 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายจิตผ่องใส ตำบลพร่อน ประจำปี 2562 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2485 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 มิถุนายน 2562 - 27 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชนอกจากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแล้วยังก่อให้เกิดปัญหาการได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายของเกษตรกรผู้ใช้ และยังมีสารพิษตกค้างในผลผลิตทางการเกษตรอีกด้วย การใช้สารเคมีทางการเกษตรนานๆ จนทำให้พืชผักมีพิษตกค้างจำนวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพของผู้บริโภคสามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตาซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมาเช่นโรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกันเป็นต้น จากการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ตั้งแต่ ปี 2558 – ปี 2561 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อนกลุ่มเป้าหมายเกษตรกร จำนวน 168 คน ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรองโดยใช้กระดาษ Reactive paper จำนวน 60 คน คิดเป็นร้อยละ 35.71 พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 45.00 กลุ่มปลอดภัย จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 21.66กลุ่มปกติ จำนวน 20 คนคิดเป็นร้อยละ 33.33 จึงมีความจำเป็นจะต้องดูแลสุขภาพของเกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชให้ปลอดภัยจากโรคภัยที่เกิดจากการสะสมสารเคมีในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็ง โรคเรื้อรัง ฯลฯ ไปพร้อมๆกับการส่งเสริมวิธีธรรมชาติในการกำจัดศัตรูพืชทดแทนสารเคมีให้มากขึ้น เพื่อให้กลุ่มเกษตรกรมีความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เกิดความตระหนัก และการดูแลสุขภาพตนเองโดยใช้วิธีธรรมชาติ เช่นการใช้สมุนไพรในการถอนพิษสารเคมี ทั้งนี้เพื่อให้เกษตรกรมีสุขภาพที่ดีพึ่งตนเองได้ และเพื่อผลผลิตทางการเกษตรที่ปลอดสารพิษคุ้มครองผู้บริโภคต่อไป โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน จึงได้จัดโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายจิตผ่องใส ตำบลพร่อน ปี 2562 นี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี
  2. เพื่อให้เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด
  3. เพื่อป้องกันโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร และกิจกรรมประเมินความเสี่ยงทางกายและทางจิต พร้อมเจาะเลือดกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกษตรกรได้รับการประเมินความเสี่ยงในการทำงานจากการสัมพัสสารเคมีดำจัดศัตรูพืช (นบก.1)และเกษตรกรได้รับการประเมินความเครียด ST - 5


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร และกิจกรรมประเมินความเสี่ยงทางกายและทางจิต พร้อมเจาะเลือดกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 27 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชาสัมพันธ์รณรงค์โครงการตรวจสารเคมีในเลือดเกษตรกรในชุมชน
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่อสม.และเกษตรกรในการประเมินความเสี่ยงทางกายและจิต
  3. จัดอบรมให้ความรู้แก่อสม.และเกษตรกร เรื่องการใช้สมุนไพรในการล้างพิษสารเคมี
  4. มีการประเมินความเสี่ยงทางกายและทางจิตของเกษตรกร โดยใช้แบบประเมินความเสี่ยงในการทำงานของเกษตรกรจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช นบก.1 และแบบประเมินความเครียด ST-
  5. จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเกษตรกรทราบเพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา และสถานที่ในการตรวจ
  6. ให้บริการตรวจเลือดหาระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่สัมผัสสารกำจัดศัตรูพืช โดยจัดหาชุดตรวจการแพ้พิษสารกำจัดศัตรูพืช และกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส
  7. จัดบริการรักษาพยาบาล และฟื้นฟูสุขภาพให้แก่เกษตรกรกลุ่มเสี่ยง โดยเจ้าหน้าที่รพ.สต.เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการให้คำแนะนำ
  8. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เมื่อสิ้นสุดโครงการ พร้อมรายงานผลการดำเนินงาน
  9. ปรับปรุง พัฒนาจากผลการดำเนินงาน เพื่อใช้ในการจัดทำแผนงาน / โครงการต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกษตรกรได้รับการประเมินความเสี่ยงในการทำงานจากการสัมพัสสารเคมีดำจัดศัตรูพืช (นบก.1) และเกษตรกรได้รับการประเมินความเครียด ST - 5

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี
ตัวชี้วัด : - เกษตรกรได้รับการประเมินความเสี่ยงในการทำงานจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (นบก.1) - เกษตรกรที่มีความเสี่ยงได้รับการเจาะเลือดหาสารเคมี ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อให้เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อป้องกันโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี (2) เพื่อให้เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด (3) เพื่อป้องกันโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร และกิจกรรมประเมินความเสี่ยงทางกายและทางจิต พร้อมเจาะเลือดกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย กายจิตผ่องใส ตำบลพร่อน ประจำปี 2562 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2485

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสมจิต กล้าหาญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด