กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาบริหารจัดการกองทุน
รหัสโครงการ 63-L00004-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ สำนักงานกองเลขานุการ กองทุน อบต.ตะเสะ
วันที่อนุมัติ 26 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 35,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายร่อเฉด จงราบ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตะเสะ อำเภอหาดสำราญ จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.033,99.449place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2562 30 ก.ย. 2563 35,000.00
2 0.00
3 0.00
รวมงบประมาณ 35,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 203 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 1000 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 118 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 400 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนตำบลแห่งประเทศไทย ได้ลงนามบันทึกความร่วมมือเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ ตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง โดยมีการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่และตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ตามมาตรา 13 (3 ) มาตรา ๑๘ (4 ) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม และความเหมาะสม โดยมีวัตถุประสงค์ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ โดยมีการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ในระดับท้องถิ่นได้ตอบรับนโยบายและได้ดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นต้นมา ซึ่งการบริหารและจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะเสะ ดำเนินการโดยใช้แนวทางการดำเนินงานที่ใช้ชุมชนเป็นจุดศูนย์กลางในการเรียนรู้ และค้นหาปัญหาทางด้านสุขภาพรวมถึงการดำเนินการแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพโดยชุมชน และเพื่อชุมชนเอง เพื่อความยั่งยืนและได้ประโยชน์ต่อประชาชนสูงสุด   คณะกรรมการบริหารกองทุนฯและอนุกรรมการกองทุนฯ รวมทั้งบุคลากรทั้งภาครัฐและภาคีเครือข่ายทางด้านสุขภาพ จำเป็นต้องพัฒนาศักยภาพเพื่อพัฒนาตนเอง เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะเสะ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะเสะให้มีประสิทธิภาพ และมีความยั่งยืน การจัดการเรียนรู้จะทำให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์กรต่าง ๆ อย่างน้อย ๓ ประการคือ บรรลุเป้าหมายของงาน เป้าหมายของการพัฒนาคน และเป้าหมายของระบบการพัฒนาองค์กร อดีตที่ผ่านมาการดำเนินงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ บุคลากรทางด้านสาธารณสุขจะเป็นหน่วยงานหลักที่ดำเนินการแก้ปัญหาทางด้านสุขภาพ องค์กรภาคประชาชน ชมรม กลุ่มองค์กรและชุมชนมีการดำเนินการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะเสะน้อยมาก ซึ่งทำให้การดำเนินการแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพไม่บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ และแก้ไขปัญหาสุขภาพไม่ตรงกับความต้องการของชุมชน จากปัญหาดังกล่าว ฝ่ายกองเลขานุการกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะเสะ จึงจัดทำ โครงการการบริหารจัดการกองทุนและพัฒนาบริหารจัดการกองทุน ปี ๒๕๖๓ เพื่อให้มีระบบการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผลมีคุณภาพและมีความยั่งยืน พร้อมทั้งให้คณะกรรมการกองทุนมีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ทั้งในด้านการบริหารงานกองทุนฯ กฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและการจัดทำแผนสุขภาพ การพิจารณากลั่นกรองและติดตามประเมินผลโครงการรวมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อนำมาปรับใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะเสะให้มีประสิทธิภาพมากยี่งขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เงินคงเหลือสะสมของกองืุนหลักประกันสุขภาพองค์หการบริหารส่วนตำบลตะเสะลดลง

การใช้จ่ายเงินงบประมารจากกองทุนฯ เพิ่มขึ้น

100.00
2 2.โครงการที่ขอรับงบประมาณสามารถดำเนินการและรายงานผลผลการดำเนินงได้สำเร้จ

โครงการที่ขอรับการสนับสนุนรายงานผล ร้อยละ 100

0.00
3 3.คณะกรรมการบริหารกองทุนฯได้รับความรู้และมีความเข้าใจในหลักเกณฑ์ของระเบียบ

คณะกรรมการบริหารกองทุนฯได้รับความรู้และมีความเข้าใจในหลักเกณฑ์ของระเบียบ ร้อยละ 90

0.00
4 4 จำนวนประชากร ชมรม และหน่วยงานภายนอกขอรับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินการเพิ่มขึ้น

หน่วยงานได้รับงบประมาณในการแก้ไขปัฐหาทางด้านสุขภาพ  ร้อยละ 80

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 124 35,000.00 5 22,200.00
1 - 29 ก.พ. 63 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตะเสะ ครั้งที่ 1/2563 17 5,100.00 4,800.00
1 - 31 มี.ค. 63 ประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดการบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึงพิง (LTC) ครั้งที่ 1/2563 10 3,000.00 2,700.00
1 - 30 เม.ย. 63 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตะเสะ ครั้งที่ 2/2563 17 5,100.00 4,500.00
1 - 30 มิ.ย. 63 ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/2563 17 5,100.00 -
1 - 31 ก.ค. 63 จัดอบรมให้ความรู้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตะเสะ 27 5,900.00 -
1 - 31 ส.ค. 63 ประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองแผนสุขภาพตำบล 11 3,300.00 3,300.00
1 - 30 ก.ย. 63 ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตะเสะ ครั้งที่ 4/2563 25 7,500.00 6,900.00
  1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้ง/ปี 2.ประชุมคณะกรรมการ LTC  จำนวน  1 ครั้ง 3.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมกรรกองทุนฯ จำนวน 1 ครั้ง 4.ประชุมคณะอนุกรรมการกบั่นกรอวแผนสุขภาตำบล  จำนวน 1 ครั้ง 5.ประชุมแกนนำสุขภาพ/กลุ่มองค์กร,โรงเรียน จำนวน 1 ครั้ง
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตะเสะได้รับความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ 2.คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตะเสะมีการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ 3.กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตะเสะ ประเมินผ่านเกณฑ์คุณภาพในระดับดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ต.ค. 2562 11:49 น.