โครงการกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน เพื่อควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563
ชื่อโครงการ | โครงการกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน เพื่อควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2563 |
รหัสโครงการ | 63-L2539-01-11 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส |
วันที่อนุมัติ | 27 พฤศจิกายน 2562 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 มีนาคม 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 20,320.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวจุฑาวรรณ บือซา |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางโนรีดา บือราเฮง |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลโต๊ะเด็ง อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 15 ก.ค. 2563 | 15 ก.ค. 2563 | 20,320.00 | |||
รวมงบประมาณ | 20,320.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นแมลงนำโรค ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน พบได้ทุกกลุ่มอายุการระบาดของโรคจะเกิดในช่วงฤดูฝน กรมควบคุมโรคได้เตรียมความพร้อมรับการระบาดโดยได้กำหนดยุทธศาสตร์ และมาตรการในการควบคุมโรค ระยะแรกมีการประชุมปฏิบัติการโรคไข้เลือดออกยุงลายเป็นตัวพาหะนำโรค เพื่อเร่งรัดการเฝ้าระวังโรคสกัดกั้นการแพร่ระบาด การป้องกันและควบคุมโรค การดูแลผู้ป่วย การเผยแพร่ความรู้ส่งเสริมบทบาทการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อให้ประชาชนมีความเข้มแข็งยิ่งขึ้น สามารถรับมือกับโรคไข้ไข้เลือดออก ที่ยุงลายเป็นตัวพาหะนำโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งผลการดำเนินงานจะช่วยลดโรคไข้เลือดออกด้วย สำหรับการป้องกันควบคุมโรค ที่สำคัญคือ ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาด และสามารถป้องกันการติดเชื้อ และลดการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออกได้ ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโต๊ะเด็ง และคณะกรรมการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโต๊ะเด็ง เป็นองค์กรหลักที่ต้องรับผิดชอบต่อปัญหาดังกล่าวเพื่อเป็นการลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกตลอดจน ผู้นำชุมชน อสม. และประชาชน ในชุมชนเกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออกที่เกิดขึ้นเป็นประจำทุกปี
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างกระแสความร่วมมือของประชาชนในชุมชน ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในครัวเรือน ชุมชน ให้ปลอดยุงลาย ค่าดัชนี BI, HI ไม่เกิน 50 และ CI ไม่เกิน 10 |
0.00 | |
2 | 2.เพื่อเป็นการเฝ้าระวังการเกิด โรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก |
0.00 | |
3 | 3.เพื่อควบคุมโรคไข้เลือดออก ไม่ให้แพร่ระบาด
|
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 100 | 20,320.00 | 1 | 20,320.00 | 0.00 | |
15 ก.ค. 63 | 1.จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย | 100 | 20,320.00 | ✔ | 20,320.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 100 | 20,320.00 | 1 | 20,320.00 | 0.00 |
1.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร 2.สามารถควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย 3.เกิดกิจกรรมการทำลายแหล่งเพาะยุงลายในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เกิดความตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก 4.เกิดความร่วมมือในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมบริเวณที่พักอาศัย เพื่อให้ปลอดยุงลาย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ต.ค. 2562 00:00 น.