กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายนิตย์ ขวัญพรหม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-03-18 เลขที่ข้อตกลง 16/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 มกราคม 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3351-03-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 มกราคม 2563 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 74,640.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คนไทยมีอายุยืนยาวขึ้นอย่างชัดเจนในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมาและสังคมไทยได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วและจะเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วคาดว่าอีกยี่สิบปีข้างหน้าเราจะมีผู้สูงอายุถึงหนึ่งในสี่ของประชากรดังนั้นผู้สูงอายุจะเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ของประเทศไทยมากขึ้นทุกขณะ เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรมีอายุขัยยืนยาวขึ้นจำนวน ผู้สูงอายุจึงเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ จากภาวะนี้ทำให้หลายประเทศในโลกรวมทั้งประเทศไทยด้วยที่มีความตื่นตัวและเตรียมการเพื่อรองรับและให้การดูแลประชากรกลุ่มนี้มากขึ้น เนื่องจากผู้สูงอายุส่วนใหญ่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ดังนั้น การดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุนับว่าเป็นภารกิจที่สำคัญสำหรับครอบครัว ชุมชน และสังคมโดยรวม เพื่อให้เกิดการดูแล เอื้ออาทรแก่ผู้สูงอายุซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมมาก่อน จนถึงวัยที่ผู้สูงอายุสมควรได้รับการตอบแทน โดยการดูแล และห่วงใย ธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ มีลักษณะโดยรวมเหมือนกันในทุกคน ทุกเชื้อชาติ ศาสนา เพียงแต่ระยะเวลาความช้าหรือเร็วของการเข้าสู่ความชราจะแตกต่างกันในแต่ละบุคคลขึ้นอยู่กับหลายปัจจัยที่เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น สิ่งแวดล้อม การดูแลสุขภาพ พันธุกรรม และภาวะสุขภาพของแต่ละบุคคล อย่างไรก็ตามความสูงวัยย่อมเกิดอย่างแน่นอนเพียงแต่จะช้าหรือเร็วเท่านั้น ความสูงวัยนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลง ๓ ด้านใหญ่ๆในผู้สูงอายุ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม การเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดคือการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย อย่างไรก็ตามการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ และสังคมก็มีความสำคัญ ซึ่งตัวผู้สูงอายุเองและบุคคลรอบข้างก็ควรให้ความสนใจการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ด้วย
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายในผู้สูงอายุมีลักษณะค่อยเป็นค่อยไปและเป็นการเปลี่ยนแปลงในทาง เสื่อมสภาพการทำงานของระบบต่างๆของร่างกายลง การดูแลผู้สูงอายุซึ่งทำโดยตัวผู้สูงอายุและครอบครัวจึงควรเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุคงไว้ซึ่งความสามารถทางด้านร่างกาย และส่งเสริมการทำงานของระบบ อวัยวะต่างๆของร่างกายอย่างมีประสิทธิภาพ
ดังนั้นในการดูแล การควบคุมและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีจึงควรมีการตรวจสุขภาพของผู้สูงอายุในระดับเบื้องต้นทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ เทศบาลตำบลโคกชะงายร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโคกชะงายจึงได้จัดโครงการตรวจคัดกรองไขมันในเลือดขึ้นเพื่อให้เกิดการดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมยาวนาน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมสุขภาพตรวจไขมันในเลือดสำหรับผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงจากการตรวจไขมันในเลือดกลุ่มเสี่ยงในเลือดผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังทุกคน
  3. กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจไขมันในเลือดได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจคัดกรองไขมันในเลือด
  2. กิจกรรมคัดกรองไขมันในเล้นเลือด กลุ่มเสี่ยงซ้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 240
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังได้รับการเฝ้าระวังส่งเสริมสุขภาพ ตรวจสุขภาพประจำปี ไม่เป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรองไขมันในเล้นเลือด กลุ่มเสี่ยงซ้ำ

วันที่ 20 พฤษภาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองไขมันในเส้นเลือด  กลุ่มเสี่ยงซ้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คัดกรองจำนวน  72  ราย

 

72 0

2. กิจกรรมตรวจคัดกรองไขมันในเลือด

วันที่ 2 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-ตรวจคัดกรองความดันโลหิต -ตรวจคัดกรองเบาหวาน -ตรวจคัดกรองไขมันในเส้นเลือด -อบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยยนพฤติกรรมสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายเป้าร่วมโครงการ  จำนวน 240  คน กลุ่มเป้าหมายที่มีผลการคัดกรองผิดปกติ  ต้องตรวจซ้ำ  จำนวน  72  คน

 

240 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 240 คน คิดเป็นร้อยละ 100
กิจกรรมที่ 1 ตรวจคัดกรองไขมันในเส้นเลือด จำนวน 240 คน ผลการตรวจ ปกติ ร้อยละ 30.83 ไตรกลีเซอร์ไรด์ ปกติ ร้อยละ 89.17 ไขมันตัวดี ปกติ ร้อยละ 95.83 ไขมันตัวร้าย ปกติ ร้อยละ 50.83 กิจกรรมที่ 2 ตรวจตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยงซ้ำ จำนวน 72 คน โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ระยะห่าง จำนวน 3 เดือน ผลการตรวจ ดีขึ้นร้อยละ 86.12 ส่งต่อพบแพทย์ 33.34 ผู้ปผ่วยรายใหม่ 3.75

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมสุขภาพตรวจไขมันในเลือดสำหรับผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังได้รับการเฝ้าระวังส่งเสริมสุขภาพ ตรวจสุขภาพประจำปี ไม่เป็นผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงทุกคน
4.00 240.00 240.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงจากการตรวจไขมันในเลือดกลุ่มเสี่ยงในเลือดผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังทุกคน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงได้รับการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและติดตามประเมินผลทุกราย
4.00 72.00 240.00

 

3 กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจไขมันในเลือดได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อทุกราย
4.00 72.00 72.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 240
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมสุขภาพตรวจไขมันในเลือดสำหรับผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงจากการตรวจไขมันในเลือดกลุ่มเสี่ยงในเลือดผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังทุกคน (3) กลุ่มเสี่ยงจากการตรวจไขมันในเลือดได้รับการส่งต่อเพื่อพบแพทย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองไขมันในเลือด (2) กิจกรรมคัดกรองไขมันในเล้นเลือด กลุ่มเสี่ยงซ้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่ไม่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-03-18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิตย์ ขวัญพรหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด