กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา (รพสต.บานา) ”

ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสมาน กอลำ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา (รพสต.บานา)

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3013-01-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา (รพสต.บานา) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา (รพสต.บานา)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา (รพสต.บานา) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3013-01-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 88,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สำคัญ เป็นปัญหาเร่วด่วนที่ต้องดำเนินการเฝ้าระวังป้องกัน สอบสวนและควบคุมโรคให้ได้โดยเร็ว เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคให้ทันท่วงที ซึ่งหากมีการระบาดเกิดขึ้นจะก่อให้เกิดปัญหาในวงกว้าง ส่งผลกระทบต่อสภาวะสุขภาพของประชาชน และทำให้เกิดความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจสังคมสร้างความตื่นตระหนกให้กับประชาชนเป็นอย่างมากการที่จะดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคให้ได้ผล ทันเวลา และมีประสิทธิภาพ สามารถหยุดการแพร่ระบาดได้นั้นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน รวมทั้งต้องดำเนินการตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข และต้องมีทีมปฏิบัติงานที่มีศักยภาพ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องระบาดวิทยาเป็นอย่างดี มีทักษะในการดำเนินงานป้องกันโรค การสอบสวนโรค การเฝ้าระวังและควบคุมโรค การรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ และส่งรายงานข้อมูลทางระบาดวิทยา เพื่อแจ้งเตือนเหตุผิดปกติให้กับประชาชนผู้นำชุมชนหน่วยงานองค์กรในท้องถิ่น และเครือข่ายการเฝ้าระวังโรคได้ทราบ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายจัดตั้งทีมในระดับตำบล คือทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตามสโลแกน “รู้เร็ว แจ้งเร็ว ควบคุมเร็ว” ทำหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรมควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่สำคัญในระดับตำบล ทำให้เกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้ โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาโรคระบาดประจำถิ่นของตำบลบานา ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด พื้นที่ตำบลบานา เป็นพื้นที่ ที่มีการระบาดของไข้เลือดออกเป็นประจำทุกปี จากข้อมูล 3 ปี ย้อนหลังมีผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออกดังนี้ คือ ปี พ.ศ.2559 จำนวน 62 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 272.03 ต่อแสนประชากรพ.ศ. 2560จำนวน 24 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 124.98 ต่อแสนประชากรเสียชีวิต 1 ราย อัตราป่วยตาย 4.17, พ.ศ. 2561 จำนวน 32ราย คิดเป็นอัตราป่วย 158.75 ต่อแสนประชากร และพ.ศ. 2562 จำนวน 36 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 176.75 ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิตตามลำดับผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็ก อายุ 0 - 14 ปี ซึ่งกำลังเรียนอยู่ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษา และโรงเรียนตาดีกาตามหมู่บ้านต่างๆและให้มีการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เดือนละครั้ง ปัจจุบันค่า HI=9.71 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทางกายภาพ ใส่ทรายอะเบทในภาชนะใส่น้ำอุปโภค พ่นสารเคมีกำจัดตัวแก่ และการทาโลชั่นที่ผิวหนังแก่สมาชิกทุกคนในบ้านเพื่อป้องกันยุงกัดในกรณีพบผู้ป่วยในบ้าน เป็นต้น ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง สามารถจัดระบบการจัดการเฝ้าระวังป้องกันไข้เลือดออกตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุขได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทีมSRRTระดับตำบลบานา จึงได้จัดทำโครงการ”เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกโดยทีม SRRT ตำบลบานา”ขึ้นเพื่อดำเนินการควบคุมป้องกันโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ประชุมชี้แจงทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว( SRRT)ระดับตำบล เพื่อคืนข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และการดำเนินโครงการ/การประชุมเชิงปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของคณะทีมงานต่างๆ ได้แก่ ทีมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยทีมสอบสวนควบคุมโรคเบ
  2. จัดซื้อสารเคมี, เชื้อเพลิง, โลชั่น,สเปรย์ป้องกันยุง และจ้างเหมาทีม SSRTเพื่อเตรียมการรับการระบาดโรคไข้เลือดออก
  3. ออกประเมินการสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชน/หมู่บ้าน, ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วย, สอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น โดยทีมงานสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น
  4. จัดเดินรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการบ้านพักที่อยู่อาศัยในชุมชนให้น่าอยู่ การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 88
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ครัวเรือนที่มีการระบาดจากโรคไข้เลือดออกได้รับการเยี่ยมบ้าน สอบสวนโรคเบื้องต้น และดำเนินการพ่นหมอกควันทุกราย

2.ทุกครัวเรือนได้รับการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย, ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและไม่มีลูกน้ำยุงลาย

3.สถานที่ราชการ เอกชน ศาสนสถาน ศูนย์พัฒนาเด็ก มีค่า CI=0

4.ประชาชนในพื้นที่ไม่เป็นโรคไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.บ้านเรือนหรือจุดพื้นที่ซึ่งมีการระบาดของไข้เลือดออกได้รับการพ่นสารเคมีกำจัดยุงลาย ร้อยละ 100 ของพื้นที่ซึ่งมีการระบาด 2.ทีมเผชิญโรคระบาดเคลื่อนที่เร็ว (SSRT) ของชุมชนเพื่อสอบสวนโรคร้อยละ 100 ของคนป่วยโรคไข้เลือดออก
100.00

 

2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0) 2.ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักและตื่นตัวในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 88
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 88
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อหยุดยั้งการระบาดของโรคไข้เลือดออกที่กำลังเป็นปัญหาของชุมชน (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ประชุมชี้แจงทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว( SRRT)ระดับตำบล เพื่อคืนข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และการดำเนินโครงการ/การประชุมเชิงปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของคณะทีมงานต่างๆ ได้แก่ ทีมสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทีมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยทีมสอบสวนควบคุมโรคเบ (2) จัดซื้อสารเคมี, เชื้อเพลิง, โลชั่น,สเปรย์ป้องกันยุง และจ้างเหมาทีม SSRTเพื่อเตรียมการรับการระบาดโรคไข้เลือดออก (3) ออกประเมินการสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชน/หมู่บ้าน, ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วย, สอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น โดยทีมงานสำรวจ/ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย และทีมสอบสวนควบคุมโรคเบื้องต้น (4) จัดเดินรณรงค์เกี่ยวกับการจัดการบ้านพักที่อยู่อาศัยในชุมชนให้น่าอยู่  การทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย การปรับปรุงสิ่งแวดล้อม และสุ่มตรวจลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังปฏิบัติการโรคไข้เลือดออก โดยทีม SRRT ตำบลบานา (รพสต.บานา) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3013-01-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมาน กอลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด