กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการมหกรรมสุขภาพตำบลบานา ”

ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมะรอสดี เงาะ

ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมสุขภาพตำบลบานา

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3013-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 เมษายน 2563 ถึง 28 พฤษภาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหกรรมสุขภาพตำบลบานา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหกรรมสุขภาพตำบลบานา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหกรรมสุขภาพตำบลบานา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3013-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 เมษายน 2563 - 28 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 207,700.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตำบลบานา ได้มีการส่งเสริมให้กลุ่มองค์กรและประชาชน ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ ซึ่งให้งบประมาณสนับสนุน ในการดำเนินโครงการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในเขตตำบลบานา ภายหลังจากดำเนินการพบว่า มีหลายชุมชนที่ได้พัฒนาโครงการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้น เพื่อให้เป็นแบบอย่างที่ดีหรือเป็นต้นแบบชุมชนที่มีการจัดการสุขภาพแบบองค์รวม โดยมีการเชิญหน่วยงานและกลุ่ม องค์กรต่างๆที่ได้ของบประมาณสนับสนุนโครงการจากกองทุนฯได้เข้ามามีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงาน นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ เพื่อเป็นการกระตุ้น ส่งเสริมด้านสุขภาพของประชาชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพในชุมชน เป็นการสร้างกระแสให้ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ในการนี้ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงเล็งเห็นความสำคัญของการจัดการสุขภาพแบบมีส่วนร่วมด้วย จึงได้จัดทำโครงการมหกรรมสุขภาพตำบลบานา ประจำปี 2563 ขึ้นโดยมีการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือกับประชาชนทุกคน จัดให้มีการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของภาคเครือข่ายด้านสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดเวทีเสวนาด้านสุขภาพ
  2. กิจกรรมการจัดตลาดนัดสุขภาพ ชมนิทรรศการให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการนำเสนอนวัตกรรมสุขภาพ
  3. กิจกรรมประกวดอาหารสะอาด รสชาติอร่อย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนและเครือข่ายสุขภาพในตำบล ได้มีการรวมกลุ่มในการทำกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงาน นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ

2.สามารถนำกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ตามความเหมาะสมกับสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดเวทีเสวนาด้านสุขภาพ

วันที่ 22 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

100 0

2. กิจกรรมการจัดตลาดนัดสุขภาพ ชมนิทรรศการให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการนำเสนอนวัตกรรมสุขภาพ

วันที่ 22 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

100 0

3. กิจกรรมประกวดอาหารสะอาด รสชาติอร่อย

วันที่ 23 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของภาคเครือข่ายด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนและกลุ่มเครือข่ายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงาน นวัตกรรมการสร้างเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัยต่างๆ
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างการมีส่วนร่วมของภาคเครือข่ายด้านสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดเวทีเสวนาด้านสุขภาพ (2) กิจกรรมการจัดตลาดนัดสุขภาพ ชมนิทรรศการให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมสุขภาพและการนำเสนอนวัตกรรมสุขภาพ (3) กิจกรรมประกวดอาหารสะอาด  รสชาติอร่อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมสุขภาพตำบลบานา

รหัสโครงการ 63-L3013-01-08 ระยะเวลาโครงการ 21 เมษายน 2563 - 28 พฤษภาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

นำเสนอในรูปแบบของการจัดนิทรรศการด้านสุขภาพ

นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการได้ศึกษาจากซุ้มนิทรรศการและสรุปองค์ความรู้ส่งคุณครู

กระตุ้นให้โรงเรียน,โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบานา สร้างนวัตกรรมด้านสุขภาพเพื่อนำเสนอต่อในโอกาสต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

นำเสนอวิธีการผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ

-ลูกอมเลิกบุหรี่ -ยาหม่องสมุนไพร -ที่ผลิตเอง -น้ำสมุนไพร

ต่อยอดให้เป็นผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพในงบแบบที่ทันสมัย และจัดจำหน่ายเผยแพร่สู่ชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

จัดนิทรรศการ การนำเสนอองค์ความรู้ด้านสุขภาพโดยนักเรียน

ตัวแทนนักเรียนเป็นผู้นำเสนอความรู้ให้กับผู้ที่สนใจ

นักเรียนในโรงเรียนมีความสามารถที่จะนำเสนอองค์ความรู้ต่างๆให้กับผู้ที่เยี่ยมชมโรงเรียนของตนได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

การจัดนิทรรศการนอกห้องเรียน

คุณครูและนักเรียนร่วมกันนำเสนอในรูปแบบที่น่าสนใจ

ทางโรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมวิชาการเพื่อให้ผู้คนในชุมชนสามารถเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง

ประชาชนและนักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง

แหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพในชุมชนเพื่อคนที่สนใจสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การนำเสนอวิธีการในการดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรคต่างๆ

โรงพยาบาลมีสูตรการผลิตน้ำสมุนไพรตัวเลือกเพื่อสุขภาพให้ผู้ที่สนใจ

โรงพยาบาลมีสูตรการผลิตน้ำสมุนไพรตัวเลือกเพื่อสุขภาพให้ผู้ที่สนใจ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

โรงพยาบาลนำเสนอน้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ

มีตัวอย่างนำสมุนไพรให้ทานพร้อมบอกส่วนผสม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

โรงเรียนปัญญาวิทย์นำเสนอรูปแบบการออกกำลังการที่ถูกต้องและประโยชน์ของการออกกำลังกาย

มีการนำอุปกรณ์การออกกำลังกายต่างๆมาสาธิตให้ดูมีการนำเสนอการเต้นแอโรบิค

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

โรงเรียนชุมชนบ้านยูโยนำเสนอลูกอมลดละเลิกบุหรี่และยาสูบ

มีผลิตภัณฑ์ลูกอมมาแจกและจำหน่ายรวมถึงบอกส่วนประกอบต่างๆในการผลิต

กระจายองค์ความรู้ให้กับโรงเรียนและประชาชนในชุมชนที่สนใจ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

-มีการนำเสนอสมุนไพรเพื่อสุขภาพ -ลูกอมที่ผลิตจากสมุนไพรใช้ในการเลิกบุหรี่ -มีการนำเสนอยาหม่องผลิตเอง

-ทางโรงเรียนและโรงพยาบาลนำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรมานำเสนอและสอนวิธีทำรวมถึงนำเสนอคุณประโยชน์ที่ส่งผลิตต่อสุขภาพเพื่อหลีกเลียงการใช้ยา

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

นำเสนอโรคหรือปัญหารูปภาพต่างๆที่เกิดจากพฤติกรรมหรือพาหะนำโรค

-ให้ความรู้ในการจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกบ้านให้สะอาดห่างไกลจากแหล่งเพาะพันธ์ยุงที่เป็นพาหะของโรคต่างๆ -ให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตให้ห่างไกลจากโรค/ปัญหาสุขภาพ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

เวที่เสวนาด้านสุขภาพ

ให้ผู้นำทางศาสนาเสวนาเรื่อง ศาสนากับการดูแลสุขภาพ

เสนอให้ผู้นำศาสนาตามมัสยิดเผยแพร่ความรู้ในการดูแลสุขภาพตามหลักการของศาสนา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

-มีบริการนวดแผนโบราณโดยใช้ยาหม่องสมุนไพร

โรงเรียนดารุลบารอกะฮจัดให้มีการนวดแผนโบราณและสาธิตการผลิตยาหม่อนสมุนไพร

ประชาชนสามารถใช้การบริการสุขภาพทางเลือกแทนการบริโภคยา

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีการประชุมร่วมกันระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลบานาแกนนำสุขภาพในชุมชน รร.,ศพด.,รพ.สต.และผู้นำชุมชนเพื่อจัดทำโครงการ

-มีการเชิญประชุมและมีหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการรวมถึงมีการจัดนิทรรศการของโรงเรียน ศพด. และรพ.สต.

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

จัดการประกวดอาหารพื้นบ้านในตำบล

มีการประชุม อสม.11 หมู่ในตำบลเพื่อนำเสนออาหารที่ขึ้นชื่อของตำบลและเลือกประเภทอาหารที่เข้าประประกวด

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

-ประชุมเพื่อหาแนวทางและรูปแบบการจัดนิทรรศการ -หาข้อมูลอาหารพื้นบ้านที่เป้นจุดเด่นของตำบลและเลือกอาหารที่จะใช่ประกวด -เลือกหัวข้อเสวนาด้านสุขภาพที่เหมาะกับคนในตำบล

-จัดนิทรรศการนำเสนอความรู้ด้านสุขภาพ -ประกวดอาหารพื้นบ้าน -อาหารคาว- นาซิดาแฆ,ไก่กอและ -อาหารหวาน-ขนมโค

เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้รับการนำเสนอต่างๆเพื่อประกอบการตัดสินใจโอกาสต่อไป

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

การนำเสนอความรู้โดยนักเรียน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

มีจุดคัดแยกขยะ

ผู้ที่เข้าร่วมโครงการทุกคนให้ความร่วมมือในการทิ้งขยะให้ลงถังและสามารถคัดแยกประเภทของขยะก่อนทิ้งได้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

เวทีเสาวนาด้านสุขภาพ

-ใช้ชีวิตตามหลักศาสนาอย่างเรียบง่ายให้ห่างไกลจากปัญหาด้านสุขภาพ

ประชาสัมพันธ์ต่อตามมัสยิดให้ใช้หลักศาสนาหลักปริชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิต

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

นิทรรศการความรู้ด้านสุขภาพ

นักเรียนและแกนนำสุขภาพที่สนใจเข้าชมนิทรรศการนำความนู้จากซุ้มต่างๆและร่วมเสนอเกมตอบคำถามและสอบถามข้อส่งสัยตามซุ้มนิทรรศการต่างๆได้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการมหกรรมสุขภาพตำบลบานา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3013-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะรอสดี เงาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด