กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ (ปี 2563): กิจกรรมย่อยที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ


“ โครงการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ (ปี 2563): กิจกรรมย่อยที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง ”

ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางคันธจุฬาลักษณ์ช. ปลอดฟัก

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ (ปี 2563): กิจกรรมย่อยที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง

ที่อยู่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3331-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ (ปี 2563): กิจกรรมย่อยที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ (ปี 2563): กิจกรรมย่อยที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ (ปี 2563): กิจกรรมย่อยที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่ามะเดื่อ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3331-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0819.2/ว1066 ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2563 เรื่องการดำเนินการขับเคลื่อน “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง” ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดการอบรมดังกล่าว นั้น โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลัน ปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดเมืองอู่ฮั่น (Wuhan) มณฑลหูเป่ย (Hubei) ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้พบว่าเชื้อไวรัสสายพัน์ใหม่ในชื่อ ไวรัสโคโรน่า ซึ่งเป็นสายพันธ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส และเมอร์ส       ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 30 ธันวาคม 2562 - วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2563 ทางการจีนรายงานผู้ป่วยทั่วโลกจากทั้งหมด 27 ประเทศ และ 2 เขตบริหารพิเศษ จำนวนทั้งสิ้น 69284 ราย เสียชีวิต 1,670 คน และมีหลักฐานการติดจากคนสู่คน พบผู้ป่วยยืนยันในผู้ที่ไม่มีประวัติการเดินทางไปประเทศจีน แต่มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ระบาดของโรค ในประเทศไทย ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2563 พบผู้ป่วยเช้าเกณฑ์ต้องเฝ้าระวังทั้งสิ้น 837 ราย พบผู้ป่วยติดเชื้อยังคงรับไว้ในโรงพยาบาล 134 ราย อนุญาตให้กลับบ้านแล้ว 692 ราย และอยู่ระหว่างสังเกตอาการที่แผนกผู้ป่วยนอกและที่บ้าน 11 ราย เป็นผู้ป้วยติดเชื้อยืนยันสะสม 34 ราย
เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) มาตรการที่สำคัญ คือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมีมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ทุกคนสามารถใช้หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันโรค ไม่เฉพาะ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต จึงเห็นควรให้มีการบูรณาการความร่วมมือจัดให้มีการดำเนินการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ ได้เล็งเห็นถึงปัญหานี้เป็นอย่างดี และตระหนักอยู่เสมอว่าในฐานะที่เป็นองค์กรของรัฐ จึงควรมีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขปัญหานี้ จึงได้จัด กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง ขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้ลดลงและลดอัตราการเสียชีวิตด้วยโรคนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 3.1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง
  2. เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ในในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. อบรมการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

9.1 ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง 9.2 เกิดการประสานงานและความร่วมมือที่ดีต่อกันในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ให้แก่ในการเฝ้าระวัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ในในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

วันที่ 6 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษารายละเอียดกิจกรรมตามโครงการ เพิ่มเติมกิจกรรมตามโครงการ เสนอเพื่อขออนุมัติ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประชุมวางแผน เตรียมความพร้อม ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ  ดังนี้
จัดกิจกรรมอบรม : ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ อบรมให้ความรู้ในในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) วันศุกร์
ที่ 6 มีนาคม 2563 เวลา 13.00 – 14.00 น.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมอบรม  จำนวน  50  คน  ประกอบด้วย         บุคลากรในสังกัดเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ  จำนวน  7  คน ครู  ผู้ดูแลเด็ก  สังกัดเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ  จำนวน  6  คน ผู้นำชุมชน          จำนวน  8  คน สมาชิกศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน  จำนวน  5  คน ผู้ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง  จำนวน  4  คน อสม.          จำนวน  5  คน         ประชาชนทั่วไป                                            จำนวน  15  คน

 

35 0

2. อบรมการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง

วันที่ 6 มีนาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ศึกษารายละเอียดกิจกรรมตามโครงการ เพิ่มเติมกิจกรรมตามโครงการ เสนอเพื่อขออนุมัติ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประชุมวางแผน เตรียมความพร้อม ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ  ดังนี้
อบรมการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง ที่ 6 มีนาคม 2563  เวลา 14.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวน 50 คน ดังนี้     1 บุคลากรในสังกัดเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ    จำนวน 7 คน 2 ครู ผู้ดูแลเด็ก สังกัดเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ    จำนวน 6 คน 3 ผู้นำชุมชน        จำนวน 8 คน 4 สมาชิกศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน    จำนวน 5 คน 5 ผู้ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง    จำนวน 4 คน 6 อสม.        จำนวน 5 คน 7. ประชาชนทั่วไป                      จำนวน 15 คน

 

35 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ตามที่ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ ได้จัดโครงการป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ กิจกรรมย่อยที่ 1 :  อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2563 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ จึงขอรายงานสรุปผลการ จัดโครงการ ดังนี้
    มีกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 35 คน แต่มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน  สมาชิกศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ผู้ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อสม. ครู ผู้ดูแลเด็ก และบุคลากรในสังกัดเทศบาลตำบลท่ามะเดื่อ
      โดยมีกิจกรรม ให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) วิธีการล้างมือ ที่ถูกหลักอนามัย และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 3.1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : ประชาชน ร้อยละ100 เกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง
35.00 50.00

ผู้เข้าร่วมประชุมเกินเป้าหมาย

2 เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ประชาชน ร้อยละ 100 เกิดความตระหนักและสามารถป้องกันโรคระบาดโดยเริ่มจากตนเอง
35.00 50.00

ผู้เข้าร่วมประชุมเกินเป้าหมาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20 35
กลุ่มผู้สูงอายุ 15 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 3.1  เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคระบาดด้วยตนเอง (2) เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า  2019 (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา  2019  (COVID-19) (2) อบรมการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ (ปี 2563): กิจกรรมย่อยที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการจัดทำหน้ากากอนามัยเพื่อการป้องกันตนเอง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3331-4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางคันธจุฬาลักษณ์ช. ปลอดฟัก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด