กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายประสิทธิ์ รัตนพรหมวุฒิ




ชื่อโครงการ ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-3-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประชากรทั้งโลกกำลังมีอายุสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจากผลสำรวจในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีสัดส่วน ประชากรสูงอายุ ทั่วโลกที่มีอายุ ๖๐ปีขึ้นไปเกินกว่าร้อยละ๑๐ สำหรับประเทศไทย มีสัดส่วนประขากรผู้สูงอายุ สูงเป็นอันดับ๒ในอาเซียนรองจากประเทศสิงคโปร์ ซึ่งประทศไทยได้ก้าวสู่สังคมสูงอายุตั้งแต่ปีพศ.๒๕๔๘ และในปีพ.ศ. ๒๕๖๐ ประเทศไทยมีผู้สูงอายกว่า ๑๑.๓ ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ๑๖.๗ ของประชากรทั้งประเทศ และในปีพ.ศ. ๒๕๖๔ ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์คือมีประชากรที่มีอายุ๖๐ปีขึ้นไปถึงร้อยละ ๒๐ของประชากรทั้งหมด โครงสร้างประชากรผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่พบผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวมากขึ้นและมี จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นทุกปี โดยในปีพ.ศ.๒๕๖๒ เทศบาลนครหาดใหญ่มีจำนวนประชากรผู้สูงอายุ ๖๐ ปี ขึ้นไป จำนวน ๒๔,๖๘๒ คน หรือคิดเป็นร้อยละ ๑๕.๖๔ ของประชากรทั้งหมด ถือว่าเทศบาลนครหาดใหญ่ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุแล้วเช่นกัน สถานการณ์เหล่านี้น้ำมาสู่ปัญหาของผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพอนามัย ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคม ซึ่งทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐเอกชชุมชนต้องตระหนักถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้น และส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีความพร้อมมีศักยภาพ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีศักดิ์ศรี เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ พึงพาตนเองได้ทั้งด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ ไม่เหงา ไม่ซึมเศร้า ไม่ติดบ้าน ติดเตียงก่อนเวลาอันควร ดัวยการให้ความรู้และวิธีการในการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิต จิตปัญญารวมทั้งสร้างเสริมภูมิคุ้มกันให้ผู้สูงอายุในการปกป้องตนเองจากภัยรอบด้านด้วยการให้ข่าวสาร ความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสม ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้จัดตั้งขึ้นและกำกับดูแลโดยเทศบาลนครหาดใหญ่ ตามแนวคิดประชารัฐ เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชนในการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในพื้นที่ ทั้งกลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง และกลุ่มติดสังคม โดยได้ดำเนินงานดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง และการจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาศักยภาพสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์เทศบาลนครหาดใหญ่ในการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพคน เสริมสร้างให้ประชาชนมีทักษะความรู้ ความสามารถและพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ทำให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีในทุกด้าน มีความสุขครอบคลุมทั้ง ๕ มิติ คือ สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า สุขสว่าง สุขสงบ ดังนโยบาย "หาดใหญ่ มหานครแห่งความสุข" ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้ดำเนินโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่ขึ้นครั้งแรกในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ผลการดำเนินงานโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุ ในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๑ สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ตามตัวชี้วัดของโครงการทุกข้อ ดังนี้ ๑) มีผู้เข้าร่วมโครงการเกินเป้าหมายที่กำหนด ๒) ผู้เข้าร่วม โครงการ ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินของเวลาเรียนทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ๘๒.๒๕ ๓)ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์การช่วยเหลือสังคมและกิจกรรมจิตอาสาต่างๆ มากกว่า ๒ กิจกรม รวมทั้งหมด ๑๔ ครั้ง ๔) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความสามารถและทักษะในการดูแลตนเอง อยู่ในระดับมาก ๕) ผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะสุขภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคมโดยรวม อยู่ในระดับมาก และผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขเมื่อได้นำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตมีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด ๖) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการ อยู่ในระดับมาก สำหรับผลการดำเนินงานในปีงบประมาณพศ. ๒๕๖๒ การดำเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ตามตัวชี้วัดของโครงการดังนี้ ๑)ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมการเรียนและระยะเวลาการเข้าชั้นเรียน คิดเป็นร้อยละ ๘๖.๔๙ ๒) ความรู้ความสามารถในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเองของผู้เข้าร่วมโครงการโดยรวมอยู่ในระดับมาก-มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ๘๖.๘๗ โดยมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ๓) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความสุขทั้ง ๕ มิติโดยรวมอยู่ในระดับมาก-มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ๙๑.๒๖โดยมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ๔) ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าร่วมทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ การช่วยเหลือสังคมและกิจกรรมจิตอาสาต่าง ๆมากกว่า ๒ กิจกรรมรวมทั้งหมด ๔ครั้ง ๕) ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๑.๘๔ มีความพึงพอใจต่อโครงการโดยรวมอยู่ในระดับมาก-มากที่สุดจากผลการดำเนินงานแสดงให้เห็นว่าโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลนครหาดใหญ่ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุได้ในทุกด้านและช่วยให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุขศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการเทศบาลนครหาดใหญ่จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิต(โรงเรียนผู้สูงอายุ)เทศบาลนครหาดใหญ่ประจำปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๓ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และมีทักษะในการจัดการดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิตและเป็นจิตอาสาร่วมสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อ ชุมชน/สังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ประสบการณ์ที่ได้รับไปจัดการและดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น

2.ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพใจที่ดี ไม่เหงาไม่ซึมเศร้าพึ่งพาตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและมีความสุขครอบคลุม 5 มิติ

3.ผู้สูงอายุเกิดการรวมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมร่วมกันรวมทั้งเป็นเวทีที่เปิดโอกาสให้เข้าร่วมเป็นจิตอาสาสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้ผู้สูงอายุและคนพิการสมารถใช้ชวิตได้อย่างปกติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้ความรู้ผู้อบรมสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้เป็นอย่างดี

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และมีทักษะในการจัดการดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ๑. ผู้สูงอายุเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๙๐ ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์ประเมินพฤติกรรมการเข้าอบรมและระยะเวลาในการเข้าอบรม ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐ขึ้นไปมีความรู้ความสามารถในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเองอยู่ในระดับมาก-มากที่สุด
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป มีความสุขทั้ง ๕ มิติ ประกอบด้วย สุขสบาย สุขสนุก สุขสง่า สุขสว่าง และสุขสงบอยู่ในระดับมาก-มากที่สุด
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิตและเป็นจิตอาสาร่วมสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อ ชุมชน/สังคม
ตัวชี้วัด : -ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์หรือช่วยเหลือสังคม อย่างน้อย ๑-๒ กิจกรรม -ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐ขึ้นไป มีความพึงพอใจต่อโครงการอยู่ในระดับมาก-มากที่สุด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้และมีทักษะในการจัดการดูแลสุขภาพของตนเองเพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสุขครอบคลุม ๕ มิติ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิตและเป็นจิตอาสาร่วมสร้างสรรค์ประโยชน์ต่อ ชุมชน/สังคม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประสิทธิ์ รัตนพรหมวุฒิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด