กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 4 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอรพิณ ปริสุทธิชัย




ชื่อโครงการ ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 4

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 31 กรกฎาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 4 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 4



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 4 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2562 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันภาพสังคมไทยได้เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคไมติดต่อเรื้อรัง หรือที่เรียกกัน ว่าโรควิถีชีวิต มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีได้แก่ โรคควานดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคหลอด เลือดสมอง ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประทศไทยปีพ.ศ. ๒๕๕๓ พบว่า ประมาณร้อยละ ๗๑ ของการเสียชีวิตทั้งหมดเกิดจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และประมาณร้อยละ ๒๙ ของผู้เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเกิด ในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า ๖๐ ปี โดยสัดส่วนการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นร้อยละ ๒๗ โรคมะเร็ง ร้อยละ ๑๒ และโรคเบาหวานร้อยละ ๖ ซึ่งจำนวนผู้เสียชีวิจากโรคดังกล่าวมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น และส่งผลกระทบต่อภาระ ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลทั้งในระดับบุคล ครอบครัว และประทศ การเกิดภาวะเสี่ยง การเจ็บป่วย และการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสาเหตุหลักสำคัญของโรคล้วนเกิดจาก การมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องได้แก่ การบริโภคที่ไม่เหมาะสม ทั้งในส่วนของการบริโภค หวาน มัน เค็มมาก เกินไป การบริโภคผักผลไม้น้อย การบริโภคอาหารไม่สะอาด การสูบบุหรี่และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มาก พฤติกรรมการออกกำลังกายน้อย ไม่เพียงพอ และมีอารมณ์ความเครียด ซึ่งโรคดังกล่าวสามารถป้องกันได้โดยการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ การออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ ละ๓-๕วันๆละ๓นาที การจัดการกับอารมณ์ความเครียดและการผ่อนคลายความเครียด รวมทั้งการหลีกเลี่ยง การสูบบุหรี่ และการดื่มสุรา ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทบาล ๔ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภพ หากบุคลกรมีพฤติกรรมสุขภพที่ถูกต้อง เป็นการสร้างตันทุนทางสุขภาพที่ดี จะช่วย ป้องกันและลดโอกาสเสียงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพ อันจะส่งผลต่อการมีสุขภาพดี มีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำ โครงการ"ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ"ขึ้น เพื่อให้บุคลากรได้รับความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด การเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพ ตนเอง มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแล สุขภาพตนเอง
  2. เพื่อให้ผู้ข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพอย่างถูกต้องตามหลัก ๓ อ.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑ผู้เข้าร่วมโครงการรับรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง มีความรู้ในการดูแลสุขภาพ และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

๒ผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง สามารถลดพุง ลดโรคได้

๓.ผู้เข้าร่วมโครงการมีดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอวระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลและไขมันในเลือดลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ

วันที่ 8 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพของตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้ความรู้ในดูแลสุขภาพ

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพ ตนเอง มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแล สุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีดัชนีมวลกาย/ เส้นรอบเอว /ระดับความดันโลหิต/ ระดับน้ำตาลและไขมันในเลือด ลดลงมากกว่า ๕ %
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพอย่างถูกต้องตามหลัก ๓ อ.
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเอง รู้ภาวะสุขภาพตนเอง มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองเพิ่มขึ้น ๘๐%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักรู้ภาวะสุขภาพ ตนเอง มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแล สุขภาพตนเอง (2) เพื่อให้ผู้ข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพอย่างถูกต้องตามหลัก ๓ อ.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยโยคะ ศูนย์บริการสาธารณสุขโรงเรียนเทศบาล 4 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอรพิณ ปริสุทธิชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด