อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอาซีซ๊ะ เหมมัน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 พฤศจิกายน 2562 ถึง 25 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม
บทคัดย่อ
โครงการ " อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 พฤศจิกายน 2562 - 25 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 205,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาคนให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ให้มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้ตามศักยภาพเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืนแต่ปัญหาสุขภาพของประชาชนเป็นปัญหาระดับชาติ
ที่เกิดจากการละเลยด้านโภชนาการของคนทั่วโลกรวมถึงคนไทย กลายเป็นปัญหาที่รัฐบาลต้องจัดสรรงบประมาณให้กับการ
บริการทางด้านสาธารณสุเพื่อดูแลสุขภาพของคนไทยแทนที่จะใช้ไปเพื่อพัฒนาประเทศด้านอื่น ๆโภชนาการจึงเป็นเรืองที่
ผู้เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของโรงเรียนคือเด็กบางส่วนไม่ได้รับประทานอาหารเช้า ซึ่งเป็นมื้อที่
สำคัญในการพัฒนาสมองหากไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจะทำให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของ
ร่างกาย ส่งผลให้ร่างกายไม่แข็งแรงการเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามเกณฑ์เด็กวัยเรียนจะขาดสมาธิง่ายส่งผลต่อสติปัญญา
การเรียนรู้เพราะอาหารเช้าจะช่วยเติมพลังสมองที่เกี่ยวข้องกับความจำซึ่งเป็นปัญหาที่กระทบกับโรงเรียนในการจัดการ
เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพส่วนอีกปัญหาหนึ่งของเด็ก ก็คือภาวะทุโภชนาการ (เด็กอ้วน เด็กผอม) ปัญหาดังกล่าว
หากพ่อแม่สร้างสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสมสมองของเขาก็จะเติบโตและพัฒนาได้อย่างเต็มที่ ความสมบูรณ์ของสมอง
ในช่วงนี้คือรากฐานสำคัญของชีวิตและความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ประกอบกับช่วงวัยเรียนเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโต มี
ความต้องการอาหารครบทั้ง๕หมู่ทำให้เด็กมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดถ้าเด็กได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ก็จะทำให้
ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ไม่มีอุปสรรคต่อการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของร่างกายเมื่อท้องอิ่ม จิตใจก็แจ่มใส เบ่งบาน
พร้อมเปิดรับกับการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ
การดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็กไม่ได้รับประทานอาหารเข้าและภาวะทุพโภชนาการถือเป็นหน้าที่ของโรงเรียนที่
จะต้องเนินการแก้ไขปัญหาซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ทศ.๒๕๔๐หมวด ด บททั่วไปความมุ่ง
หมายและหลักการ มาตรา๖การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ
สติปัญญาความรู้และ คุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้ได้อย่างมีความสุข และ
สอดคล้องกับพะราชกิจจานุเบกษาประกาศคณะอนุกรรมการและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ เรื่องบริกาสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่พ.ศ. ๒๕๕๗กิจกรรมบริการ
สาธารณสุขตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะตามประกาศแนบท้ายลงวันที่มีนาคม๒๕๕๗ ข้อ๓ กลุ่มเด็กวัยเรียนและ
เยาวชนและ ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนคหาดใหญ่เรื่องการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน
หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๕๙ ข้อ ๗ (๑)
ผลการดำเนินโครงการฯประจำปีงบประมาณผศ. ๒๕๖๒ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม พบว่า
นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน ๖๐คนมีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไปร้อยละ๙๕และนักเรียนจำนวน ๔๒
คน มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ๗๐ ซึ่งนับเป็นโครงการฯที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการรับประทาน
อาหารเข้าและภาวะทุพโภชนาการที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงดำเนินโครงการฯอย่างต่อเนื่องโดยมีการสำรวจนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า และ
นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเพิ่มเติม พบว่าในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๓มีนักเรียนที่จำเป็นต้องเข้าร่วมโครงการฯ
จำนวน ๖๐คนโดยมีความมุ่งหวังเพื่อช่วยให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการและครบ ๕ หมู่ มี
พัฒนาการสมวัยมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน มีสมาธิเกิดความพร้อมในการเรียนรู้สู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญา
ฉลาดสมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเข้าที่มี คุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ
- เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็น ความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก
- ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร มีพัมนาการสมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก
วันที่ 2 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
๑. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลภาวะทุพโภชนาการเด็กนักเรียนข้อมูลปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อเขียนเสนอโครงการ
๒. เสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่
เพื่อขออนุมัติงบประมาณ
๓. คัดเลือกนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเข้าถึงอาหารเช้าและดำเนินการจัดทำอาหารเช้าให้เด็ก
๓.๑ คัดเลือกนักเรียนฯ ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ จำนวน 32 คน
๔. ติดตามประเมินผล
- ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย
- ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และแปรผล โดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตสำหรับเด็ก เมื่อสิ้นสุดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
โครงการอิ่มท้องสมองใส ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม พบว่า นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน 32 คน มีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 95 และนักเรียนจำนวน 27 คน มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 84.37 ซึ่งนับเป็นโครงการฯ ที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการรับประทานอาหารเช้าและภาวะทุพโภชนาการที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
60
0
2. ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส
วันที่ 25 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
จัดประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของอาหารเช้า
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ปกครองให้การสนับสนุนในการให้เด็กมารับประทานอาหารเช้าที่โรงเรียนดีขึ้น
0
0
3. สรุปผลการดำเนินงาน
วันที่ 28 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำ
สรุปโครงการเข้ารูปเล่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เล่มรายงานจำนวน 4 เล่ม
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเข้าที่มี คุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับประทานอาหารเข้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร และมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ ๑๐๐
0.00
2
เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวน ๖๐ คนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐาน ร้อยละ ๙๐
0.00
3
เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็น ความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเข้าที่มี คุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็น ความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก (2) ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส (3) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอาซีซ๊ะ เหมมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอาซีซ๊ะ เหมมัน
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 พฤศจิกายน 2562 ถึง 25 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม
บทคัดย่อ
โครงการ " อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 พฤศจิกายน 2562 - 25 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 205,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาคนให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ให้มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ตามศักยภาพเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืนแต่ปัญหาสุขภาพของประชาชนเป็นปัญหาระดับชาติ ที่เกิดจากการละเลยด้านโภชนาการของคนทั่วโลกรวมถึงคนไทย กลายเป็นปัญหาที่รัฐบาลต้องจัดสรรงบประมาณให้กับการ บริการทางด้านสาธารณสุเพื่อดูแลสุขภาพของคนไทยแทนที่จะใช้ไปเพื่อพัฒนาประเทศด้านอื่น ๆโภชนาการจึงเป็นเรืองที่ ผู้เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของโรงเรียนคือเด็กบางส่วนไม่ได้รับประทานอาหารเช้า ซึ่งเป็นมื้อที่ สำคัญในการพัฒนาสมองหากไม่ได้รับประทานอาหารเช้าจะทำให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของ ร่างกาย ส่งผลให้ร่างกายไม่แข็งแรงการเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามเกณฑ์เด็กวัยเรียนจะขาดสมาธิง่ายส่งผลต่อสติปัญญา การเรียนรู้เพราะอาหารเช้าจะช่วยเติมพลังสมองที่เกี่ยวข้องกับความจำซึ่งเป็นปัญหาที่กระทบกับโรงเรียนในการจัดการ เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพส่วนอีกปัญหาหนึ่งของเด็ก ก็คือภาวะทุโภชนาการ (เด็กอ้วน เด็กผอม) ปัญหาดังกล่าว หากพ่อแม่สร้างสิ่งแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสมสมองของเขาก็จะเติบโตและพัฒนาได้อย่างเต็มที่ ความสมบูรณ์ของสมอง ในช่วงนี้คือรากฐานสำคัญของชีวิตและความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ประกอบกับช่วงวัยเรียนเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโต มี ความต้องการอาหารครบทั้ง๕หมู่ทำให้เด็กมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดถ้าเด็กได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ก็จะทำให้ ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ไม่มีอุปสรรคต่อการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของร่างกายเมื่อท้องอิ่ม จิตใจก็แจ่มใส เบ่งบาน พร้อมเปิดรับกับการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็กไม่ได้รับประทานอาหารเข้าและภาวะทุพโภชนาการถือเป็นหน้าที่ของโรงเรียนที่ จะต้องเนินการแก้ไขปัญหาซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ทศ.๒๕๔๐หมวด ด บททั่วไปความมุ่ง หมายและหลักการ มาตรา๖การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญาความรู้และ คุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้ได้อย่างมีความสุข และ สอดคล้องกับพะราชกิจจานุเบกษาประกาศคณะอนุกรรมการและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ เรื่องบริกาสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่พ.ศ. ๒๕๕๗กิจกรรมบริการ สาธารณสุขตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะตามประกาศแนบท้ายลงวันที่มีนาคม๒๕๕๗ ข้อ๓ กลุ่มเด็กวัยเรียนและ เยาวชนและ ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนคหาดใหญ่เรื่องการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๕๙ ข้อ ๗ (๑) ผลการดำเนินโครงการฯประจำปีงบประมาณผศ. ๒๕๖๒ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม พบว่า นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน ๖๐คนมีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไปร้อยละ๙๕และนักเรียนจำนวน ๔๒ คน มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ๗๐ ซึ่งนับเป็นโครงการฯที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการรับประทาน อาหารเข้าและภาวะทุพโภชนาการที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงดำเนินโครงการฯอย่างต่อเนื่องโดยมีการสำรวจนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า และ นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเพิ่มเติม พบว่าในปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๖๓มีนักเรียนที่จำเป็นต้องเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน ๖๐คนโดยมีความมุ่งหวังเพื่อช่วยให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางโภชนาการและครบ ๕ หมู่ มี พัฒนาการสมวัยมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน มีสมาธิเกิดความพร้อมในการเรียนรู้สู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญา ฉลาดสมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเข้าที่มี คุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ
- เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็น ความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก
- ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส
- สรุปผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 20 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร มีพัมนาการสมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก |
||
วันที่ 2 มีนาคม 2563กิจกรรมที่ทำ๑. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลภาวะทุพโภชนาการเด็กนักเรียนข้อมูลปีงบประมาณที่ผ่านมาเพื่อเขียนเสนอโครงการ
๒. เสนอโครงการเพื่อขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นโครงการอิ่มท้องสมองใส ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม พบว่า นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน 32 คน มีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 95 และนักเรียนจำนวน 27 คน มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 84.37 ซึ่งนับเป็นโครงการฯ ที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการรับประทานอาหารเช้าและภาวะทุพโภชนาการที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
|
60 | 0 |
2. ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส |
||
วันที่ 25 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำจัดประชุมให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของอาหารเช้า ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ปกครองให้การสนับสนุนในการให้เด็กมารับประทานอาหารเช้าที่โรงเรียนดีขึ้น
|
0 | 0 |
3. สรุปผลการดำเนินงาน |
||
วันที่ 28 กันยายน 2563กิจกรรมที่ทำสรุปโครงการเข้ารูปเล่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเล่มรายงานจำนวน 4 เล่ม
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเข้าที่มี คุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับประทานอาหารเข้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร และมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ ๑๐๐ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ ตัวชี้วัด : นักเรียนที่ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวน ๖๐ คนมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐาน ร้อยละ ๙๐ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็น ความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 20 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเข้าที่มี คุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณภาพ (3) เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็น ความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก (2) ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส (3) สรุปผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L7258-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอาซีซ๊ะ เหมมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......