กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
งบประมาณในการจัดซื้อเคมีภัณฑ์8 กันยายน 2563
8
กันยายน 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

๑.วิเคราะห์สถานการณ์ และแนวโน้มการเกิดโรค ๒.วิเคราะห์ข้อมูล ปัญหาที่พบในชุมชนจากการทำงานเชิงรุก ๓.นำข้อมูลเข้าร่วมปรึกษาหารือกับผู้เกี่ยวข้องและผู้เชี่ยวชาญ ในการดำเนินงานโรคติดต่อนำโดยแมลง ๔.  สรุปผลและหามาตรการดำเนินงาน ๕.  จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

๑.  อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ ๒.  เกิดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน มีการพึ่งตนเองเกิดเป็นชุมชนจัดการสุขภาพ ๓.  ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมใน
    การเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ๔.  เกิดนวัตกรรมของชุมชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรค ๕.  เกิดเครือข่ายป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ๖.  สร้างความรับผิดชอบและตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน ๗.  เกิดชุมชนต้นแบบในการป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ และขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นต่อไป

สื่อสารและประชาสัมพันธ์13 พฤษภาคม 2563
13
พฤษภาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

๑. วิเคราะห์สถานการณ์ และแนวโน้มการเกิดโรค ๒. วิเคราะห์ข้อมูล ปัญหาที่พบในชุมชนจากการทำงานเชิงรุก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. เกิดชุมชนต้นแบบในการป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ และขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นต่อไป
  2. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมในการ
        เฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ทั้ง ๔ เขต จำนวน ๘ ครั้ง (เขตละ ๒ ครั้ง)17 มีนาคม 2563
17
มีนาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

๑.  วิเคราะห์สถานการณ์ และแนวโน้มการเกิดโรค ๒.  วิเคราะห์ข้อมูล ปัญหาที่พบในชุมชนจากการทำงานเชิงรุก ๓.  นำข้อมูลเข้าร่วมปรึกษาหารือกับผู้เกี่ยวข้องและผู้เชี่ยวชาญ ในการดำเนินงานโรคติดต่อนำโดยแมลง ๔.  สรุปผลและหามาตรการดำเนินงาน ๕.  จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

๑.  อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ ๒.  เกิดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน มีการพึ่งตนเองเกิดเป็นชุมชนจัดการสุขภาพ ๓.  ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมใน
    การเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ๔.  เกิดนวัตกรรมของชุมชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรค ๕.  เกิดเครือข่ายป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ๖.  สร้างความรับผิดชอบและตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน ๗.  เกิดชุมชนต้นแบบในการป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ และขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นต่อไป