ควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายเป็นพาหะ

๑. วิเคราะห์สถานการณ์ และแนวโน้มการเกิดโรค ๒. วิเคราะห์ข้อมูล ปัญหาที่พบในชุมชนจากการทำงานเชิงรุก ๓. นำข้อมูลเข้าร่วมปรึกษาหารือกับผู้เกี่ยวข้องและผู้เชี่ยวชาญ ในการดำเนินงานโรคติดต่อนำโดยแมลง ๔. สรุปผลและหามาตรการดำเนินงาน ๕. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
๑. อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
๒. เกิดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน มีการพึ่งตนเองเกิดเป็นชุมชนจัดการสุขภาพ
๓. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมใน
การเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
๔. เกิดนวัตกรรมของชุมชนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรค
๕. เกิดเครือข่ายป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
๖. สร้างความรับผิดชอบและตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน
๗. เกิดชุมชนต้นแบบในการป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ และขยายผลไปสู่ชุมชนอื่นต่อไป