กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ป้องกันการติดสารเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปี 2563 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางจุลจิรา ธีรชิตกุล




ชื่อโครงการ ป้องกันการติดสารเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2562 ถึง 15 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันการติดสารเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันการติดสารเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันการติดสารเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2562 - 15 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 676,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด เกิดขึ้นในประเทศไทยมาช้านนาน โดยสภาพปัญหได้เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะการณ์ของโลกในยุคปัจจุบัน เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดมีอายุน้อยลง การบำบัดรักษายาเสพติด
แม้ว่าจะมีแนวโน้มลดลงแต่กลับพบว่าผู้เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดเป็นเยาวชนอายุระหว่าง 15-25 ปี มีสัดส่วนมากถึงร้อยละ 50 (ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กรมสุขภาพจิต,2559) ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มเสียงที่ต้องฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด พฤติกรรมการใช้ยาเสพติดที่นำเป็นกังวลคือ การใช้ยาเสพติดมากกว่ 1 ชนิดร่วมกันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้การบำบัดรักษามีความยุ่งยาก ชับซ้อนมากขึ้น นอกจากนี้ปัจจุบันยังพบว่เด็กและเยาวชนมีการนำสารต่างๆ ที่หาได้อย่างมาผสมกันเพื่อให้ออกฤทธิ์เหมือนสารเสพติด ซึ่งเด็กและเยาวชนมีการทดลองดื่มสารเหล่านี้เนื่องจากมองว่าเกิดจากส่วนผสมของสารที่ไม่เป็นอันตราย โดยที่ไม่ได้คำนึงว่ามีฤทธิ์สพติด ปัญหาสารเสพติดเป็นปัญหาที่เป็นภัยร้ายแรงต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต และยังส่งผลกระทบต่อการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ปลอดภัยนำไปสู่ปัญหาเรื่องโรคเอดส์ และโรคติดต่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร จากข้อมูลผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ พบว่ามีหรับในประเทศไทยพบว่าการติดอายุระหว่าง 15-25 ปี ร้อยละ 45 ของผู้ติดเชื้อเอชไอวี่รายใหม่ทั้งหมดเชื้อเอชไอวี่ในกลุ่มวัยรุ่น สาเหตุส่วนใหญ่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ป้องกันที่เกิดจากการใช้สารเสพติด การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ การใช้เวลาว่างไม่เหมาะสม สาเหตุสำคัญที่ทำให้อัตรากรติดเชื้อเอชไอวีของวัยรุ่นเพิ่มสูงขึ้นรวมทั้งกระแสสังคม วัตถุนิยมตะวันตก โดยเฉพาะอิทธิพลของสื่อต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อวิถีการดำเนินชีวิต ความคิด ค่านิยม และพฤติกรรมการแสดงออกโดยเฉพาะพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่นทศบาลนครหาดใหญ่ ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าจึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น เพื่อป้องกันการติดสารเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิงลด ละเลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้สารเสพติดต่าง ๆโดยให้เข้าใจถึงผลเสียของการเสพสิ่งเหล่านั้น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสารเสพติด
  2. เพื่อสร้างความตระหนัก ความรู้ และทักษะในการป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการมี เพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย เสริมสร้างความรักความสามัคคี และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
  3. 2.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้องและมีทักษะในการป้องกันตนเอง เพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ และมีทักษะในการป้องกันการติดเชื้อ
  4. 3. การสร้างการยอมรับ และอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างถูกต้อง และลดการตีตรา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมผู้เกี่ยวข้องในการชี้แจงในการดำเนินกิจกรรมโครงการ
  2. การฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากปัญหาดังกล่าว
2.กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และทักษะในการถ่ายทอดความรู้และประชาสัมพันธ์ เรื่องยาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มยาวชนในโรงเรียนที่สังกัดและในชุมชนของตนเองได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต

วันที่ 13 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เป็นการดำเนินการรูปแบบ การเข้าค่ายทักษะชีวิต โดยการแบ่งกิจกรรม เป็นฐานความรู้ เพื่อพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ เช่นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ ทักษะการปฏิเสธ ความตระหนักรู้ เป็นต้น โดยแบ่งเป็นฐานกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.  กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากปัญหาดังกล่าว ๒.  กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้และทักษะในการถ่ายทอดความรู้และประชาสัมพันธ์ เรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในกลุ่มเยาวชนในโรงเรียนที่สังกัดและในชุมชนของตนเองได้

 

0 0

2. ประชุมผู้เกี่ยวข้องในการชี้แจงในการดำเนินกิจกรรมโครงการ

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดกิจกรรมในการดำเนินการ
  3. แจ้งรายละเอียดโครงการแก่ทางโรงเรียนและต้องคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
  4. ประสานทีมวิทยากรจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
  5. ประชุมตัวแทนผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแจ้งรายละเอียดและเตรียมความพร้อม
  6. ประสาน เรื่องอาคาร สถานที่ ในการจัดกิจกรรม
  7. ประสานสถานที่ศึกษาดูงาน (ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดสงขลา)
  8. จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในกิจกรรมต่างๆ
  9. ดำเนินกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องยาเสพติด โรคเอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และมีทักษะในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากปัญหาดังกล่าว

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิงลด ละเลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้สารเสพติดต่าง ๆโดยให้เข้าใจถึงผลเสียของการเสพสิ่งเหล่านั้น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสารเสพติด
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 มีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติด
0.00

 

2 เพื่อสร้างความตระหนัก ความรู้ และทักษะในการป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการมี เพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย เสริมสร้างความรักความสามัคคี และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 90 มีความตระหนัก และมีทักษะในการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์
0.00

 

3 2.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้องและมีทักษะในการป้องกันตนเอง เพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ และมีทักษะในการป้องกันการติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 90 มีทักษะในการป้องกันตนเองจากการยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดทุกชนิด กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ100 มีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100 มีความรู้ความเข้าใจ ยอมรับ และอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานความรู้ที่ถูกต้อง และสามารถนำความรู้ที่ได้รับสร้างการยอมรับผู้ป่วยเอดส์ในชุมชนของตนเองได้
0.00

 

4 3. การสร้างการยอมรับ และอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างถูกต้อง และลดการตีตรา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิงลด ละเลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้สารเสพติดต่าง ๆโดยให้เข้าใจถึงผลเสียของการเสพสิ่งเหล่านั้น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสารเสพติด (2) เพื่อสร้างความตระหนัก ความรู้ และทักษะในการป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันการมี เพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย  เสริมสร้างความรักความสามัคคี และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (3) 2.เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้องและมีทักษะในการป้องกันตนเอง เพื่อหลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ และมีทักษะในการป้องกันการติดเชื้อ (4) 3. การสร้างการยอมรับ และอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างถูกต้อง และลดการตีตรา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมผู้เกี่ยวข้องในการชี้แจงในการดำเนินกิจกรรมโครงการ (2) การฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันการติดสารเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจุลจิรา ธีรชิตกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด