กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก


“ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ประจำปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
สำนักงานเลขานุการกองทุนฯ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3063-4-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3063-4-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 71,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย สมาคมองค์การบริหารส่วนจังหวัดแห่งประเทศไทย ได้ลงนามบันทึกความร่วมมือ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพและสวัสดิการชุมชนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2550 และตามบันทึกข้อตกลงการดำเนินงาน และบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ระหว่างสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกับองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ ตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึง โดยมีการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ และตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 ตามมาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงาน และบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตาความพร้อม และความเหมาะสม โดยมีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ โดยมีนโยบายและได้

ดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.2561 เป็นต้นมา ซึ่งการบริหารและจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ดำเนินการโดยใช้แนวทางการดำเนินงานที่ใช้ชุมชน เป็นจุดศูนย์กลางในการเรียนรู้ และค้นหาปัญหาทางด้านสุขภาพรวมถึงการดำเนินการแก้ปัญหาทางด้านสุขภาพ โดยชุมชนและเพื่อชุมชนเอง เพื่อความยั่งยืนและได้ประโยชน์ต่อประชาชนสูงสุด คณะกรรมการบริหารกองทุนฯและอนุกรรมการกองทุนฯ รวมทั้งบุคลากรทั้งภาครัฐและภาคีเครือข่ายทางด้านสุขภาพ จำเป็นต้องพัฒนาศักยภาพเพื่อพัฒนาตนเอง เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรักให้มีประสิทธิภาพ และมีความยั่งยืนการจัดการเรียนรู้จะทำให้บรรลุเป้าหมายของงาน เป้าหมายของพัฒนาคน และเป้าหมายของระบบการพัฒนาองค์กร อดีตที่ผ่านมาการดำเนินงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ บุคลากรทางด้านสาธารณสุขจะเป็นหน่วยงานหลักที่ดำเนินการแก้ปัญหาทางด้านสุขภาพ องค์กรภาคประชาชน ชมรม องค์กรและชุมชนมีการดำเนินการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรักน้อยมาก ซึ่งทำให้การดำเนินการแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพไม่บรรลุ  ตามเป้าหมายที่วางไว้ และแก้ไขปัญหาสุขภาพไม่ตรงกับความต้องการชุมชน   จากปัญหาดังกล่าวอนุกรรมการฝ่ายเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก จึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ปี 2563 เพื่อให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก มีระบบการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีคุณภาพและมีความยั่งยืน พร้อมทั้งให้คณะกรรมการกองทุนความรู้ ความเข้าใจในการบริหารและดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ การพิจารณากลั่นกรองและติดตามประเมินผลโครงการ รวมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อนำมาปรับใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ตรงตามวัตถุประสงค์ และมีประสิทธิภาพ
  2. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ รวมทั้งเรื่องการแก้ปัญหาทางด้านสุขภาพในชุมชนแก่คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก
  3. เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ให้มีผลการประเมินกองทุนในระดับศักยภาพดี (ระดับ A)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ และที่ปรึกษากองทุน
  2. จัดทำแผนสุขภาพชุมชนกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ประจำปี 2564
  3. อื่นๆ
  4. จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ เพื่อการดำเนินงานกองทุน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 23

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรักได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
  2. คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรักมีการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ 3.คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรักประเมินผ่านเกณฑ์คุณภาพในระดับดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ตรงตามวัตถุประสงค์ และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ รวมทั้งเรื่องการแก้ปัญหาทางด้านสุขภาพในชุมชนแก่คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ให้มีผลการประเมินกองทุนในระดับศักยภาพดี (ระดับ A)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 23
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 23

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ตรงตามวัตถุประสงค์ และมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจในหลักเกณฑ์ ระเบียบ ประกาศและคำสั่งที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ รวมทั้งเรื่องการแก้ปัญหาทางด้านสุขภาพในชุมชนแก่คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก (3) เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก  ให้มีผลการประเมินกองทุนในระดับศักยภาพดี (ระดับ A)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ และที่ปรึกษากองทุน (2) จัดทำแผนสุขภาพชุมชนกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ประจำปี 2564 (3) อื่นๆ (4) จัดซื้อวัสดุครุภัณฑ์ เพื่อการดำเนินงานกองทุน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3063-4-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( สำนักงานเลขานุการกองทุนฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด